Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง,…
บทที่8 การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การใช้อาหารในการบำบัดโรคและการให้โภชนาศึกษาในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
เรียนรู้และนับคาร์บกับอาหารแลกเปลี่ยน
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
รู้จักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากหลอดเลือดตีบตัน หลอดเลือดแข็งตัว เกิดจากสะสมของไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันในเลือดสูง
อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว
อาหารที่มีไขมันทรานส์
อาหารที่มีคอเลสเตอรอล
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยและควรหลีกเลี่ยง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
งดน้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไข่แดง
ใช่น้ำมันในการปรุงอาหารน้อยๆ
ควรเลือกดื่มนมไขมันต่ำ
ลดการกินอาหารเค็ม
กินผัก ผลไม้เป็นประจำ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
โรคมะเร็ง
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารเผ็ด
อาหารที่เพิ่งปรุงรสเสร็จกำลังร้อนจัด
อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัด
อาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทำให้เจ็บเวลาเคี้ยว
ผู้ป่ายที่มีปัญหาเม็ดเลือดขาวต่ำ
การกินอาหารประเภทโปรตีนจะช่วยให้ผลการรักษาได้ผลดีมากขึ้น
ควรกินอาหารที่มีโปรตีนสูง ต่อวัน50-80g
ผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก
ดื่มน้ำให้เพียงพอ ประมาณ6-8แก้ว จะช่วยให้อุจจาระนิ่มขึ้น
กินธัญพืชที่ขัดสีน้อย จะได้มีกากใย่อาหารสูง
อาหารและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
อาหารที่มีไขมันมากและมีคอเลสเตอรอลลสูง
สารก่อมะเร็ง
สารก่อมะเร็งในสิ่งแวดล้อม
ยาและเครื่องสำอางบางชนิด
แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกัน
รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่
รับประทานอาหารที่มีไขมันน้อย
รับประทานโปรตีนให้เพียงพอ
รับประทานข้าวกล้องและถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ
รับประทานอาหารสดใหม่ สุก สะอาด
ดื่มน้ำสะอาดวันละ8-10แก้ว
พักผ่อนให้เพียงพอ
งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
โภชนศึกษาโรคมะเร็ง
ไม่ทานอาหารที่มีราขึ้น อาจเป็นสาเหตุของการเป็นมะเร็งตับ
ลดอาหารไขมัน เพราะทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม ลำไส่ใหญ่
ลดอาหารดองเค็ม อาหารปิ้งย่าง เพราะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่
ไม่ทานอาหารสุกๆดิบๆ เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็.ท่อน้ำดีในตับ
โรคอ้วน
โภชนศึกษาโรคอ้วน
ควบคุมพลังงานต่อวัน
ลดอาหารที่พลังงานสูง
เลือดทานอาหารที่มีพลังงานต่ำ ไขมันต่ำ
เลือดดื่มชา กาแฟที่ไม่ใช่น้ำตาล
เลือกเมนูที่ผ่านการปิ้ง ย่าง อบ ต้ม
เลือกทานกลุ่มเนื้อสัตว์ที่ไขมันต่ำ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มรชีไขมันทรานซ์
จานอาหารสุขภาพ 2:1:1
คาร์โบไฮเดรต 1 ส่วน
โปรตีน 1 ส่วน
ผัก 2 ส่วน
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาในโรงพยาบาล
อาหารบำบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค
อาหารลดโซเดียม หลีกเลี่ยงเครื่องปรุงรสและอาหารที่โซเดียมสูง เช่น ผลชูรส ผงฟู ซอสปรุงรสต่างๆ อาหารแปลรูป อาหารมักดอง
อาหารลดไขมัน รับประทานอาหารได้ในปริมาณที่จำกัด หรือดัดแปลงให้มีปรมาณไขมันน้อยลง เช่น หมูติดมัน หมูสามชั้นเปลี่ยนเป็นหมูเนื้อแดง
อาหารลดโคเลสเตอรอล หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีโคเลสเตอรอลสูงหรือทานจำกัด
อาหารดัดแปลงโปรตีน
อาหารโปรตีนสูง เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคไตที่ทำการล้างไตหรือผู้ป่วยถูกไฟไหม้
อาหารโปรตีนต่ำ เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคไตที่ไม่มีการล้างไต
อาหารดัดแปลงพลังงาน อาหารพลังงานต่ำเหมาะสำหรับผู้ป่วยอ้วนหรือมีน้ำหนักมากกว่าปกติ
อาหารพลังงานสูง เหมาะสำหรับผู้ป่วยน้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน
อาหารโรคเบาหวาน ต้องควบคุมทั้งปริมาณโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต
อาหารทางสายให้อาหาร
สูตรอาหารปั่นผสม มาจากอาหาร5หมู่ นำมาต้มสุกและปั่นผสม
สูตรอาหารสำเร็จรูป เป็นสูตรเฉพาะ เป็นผลิตภัณฑ์ เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัทผลิตอาหารทางการแพทย์
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เป็นวิธีที่จะช่วยผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพื่อการอยู่รอด สามารถต่อสู่กับการติดเชื้อได้
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบบางส่วน
หมายถึง การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย สามารถให้ได้บางส่วน ไม่ครบตามความต้องการ เนื่องจากทนความเข็มข้นของสารอาหารได้เพียง 600 mOsm/L
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบสมบรูณ์
หมายถึง สามารถให้สารอาหารได้ครบทั้งปริมาณและชนิดของอาหาร เนื่องจากหลอดเลือดดำใหญ่มีเลือดผ่านมากและแรงจึงช่วยเจือจางสารอาหารที่แข็มข้นสูงให้แข็มข้นน้อยลงได้
สารอาหารสำหรับการให้สารอาหารจากหลอดเลือดดำ
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ไขมัน
วิตามิน เกลือแร่ และ น้ำ
โภชนบำบัด
หมายถึง การใช้อาหารช่วยในการรักษาโรคโดยการดัดแปลงอาหารธรรมดา เป็นอาหารที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่
วัตถุประสงค์
เพื่อนำความรู้ด้านโภชนาศาสตร์มากำหนดอาหารเพื่อรักษาให้หายจากโรค
เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
เพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการ
เพื่อรักษาและส่งเสริมให้ทุพโภชนาการที่เกิดขึ้นอยู่แล้วหายไป
กระบวนการทางโภชนบำบัด
1.วิเคราะห์ภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
2.การวางแผนการให้โภชนบำบัด
3.ขั้นการดำเนินการโภชนบำบัด
4.ขั้นการประเมินผลโภชนบำบัด
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา 6224N46136 ห้อง 1