Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GI Tract gi, Chest Pain, Dyspepsia, Dysuria, นางสาวชนิดา เล็กเปีย…
GI Tract
กลุ่มอาการดิสเป็นเซีย (Dyspepsia)
อาการปวด หรือไม่สบาย (discomfort)
ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือ epigastrium
อาการไม่รุนแรงแต่ก่อให้เกิดความไม่สบาย สัมพันธ์กับการกินอาหาร
การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค
แผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer : GU
หรือแผลที่ Duodenal ulcer : DU)
มะเร็งอาหาร (Gastric cancer)
Helicobacter pylori-associated dyspepsia
อื่นๆ
โรคตับอ่อน
ยา
Functional dyspepsia เป็นสาเหตุที่พบบ่อย
ให้ผลวินิจฉัยได้เมื่อส่องกล้องร่วมกับ ROME IV ทั้ง 2 ข้อ
มีอาการอย่างน้อย 1 อาการ
อิ่มเร็วกว่าปกติ
ปวดบริเวณลิ้นปี่
อาการจุกแน่นหลังมื้ออาหาร
แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่
ไม่พบหลักฐานที่บ่งถึงโรคทางโครงสร้าง
(Structural disease)
ต้องมีอาการนาน 6 เดือน
วินิจฉัยนาน 3 เดือน
แบ่งย่อยได้ดังนี้
Epigastric pian syndrome : ปวดแสบร้อนอย่างน้อย 1 ครั้ง/สัปดาห์
Postprandrial distress syndrome : จุกแน่น อิ่มเร็ว อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก (Chest Pain)
อาการแสดงที่บ่งบอกภาวะวิกฤติและควรได้รับการตรวจ
เจ็บหน้าอกร่วมกับอาการจุกแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย หรือคลื่นไส้อาเจียน
เหนื่อยหอบ
อาการเจ็บหน้าอกแน่นๆ หนักๆ หรือเหมือนถูกกดทับ
ร่วมกับเจ็บร้าวไปคอ กราม ไหล่ แขนหรือหลัง
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง วิงเวียนหรือเป็นลมหมดสติ
อาการเจ็บหน้าอกร่วมกับระบบที่เกี่ยวข้อง
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบหายใจ
Pneumothorax
มีอาการ pleuritic chest pain ร่วมกับหอบเหนื่อย
เกิดรอยโรคที่มีเยื่อหุ้มปอดฉีกขาด
ตรวจร่างกายพบ
decreased breath sound
hyperresonance on percussion บริเวณทรวงอกข้างที่มีรอยโรค
tracheal deviation ไปยังด้านตรงข้ามกับทรวงอกข้างที่มีรอยโรค
tension pneumothorax มีอาการความดันโลหิตต่ำ
Pneumonia/pneumonitis
ไข้ ไอ มีเสมหะ หอบเหนื่อย ร่วมกับเจ็บหน้าอกแบบ pleuritic chest pain
ตรวจร่างกายพบ
Wheezing
Egophony
Crepitation
pleural effusion
Consolidation
Acute pulmonary embolism
มีอาการเจ็บหน้าอกแบบเจ็บแปล๊บๆ และอาการมากขึ้นเมื่อไอหรือหายใจเข้าลึก
pleuritic chest pain หอบเหนื่อย ไอเป็นเลือด
อาการเจ็บเกิดจากการตายของเนื้อเยื่อปอดกับเยื่อหุ้มปอด
ตรวจร่างกายพบ
tachypnea
Tachycardia
Jugular venous distension
loud P2
right-sided cardiac enlargement
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินอาหารส่วนบน
Peptic ulcer
Cholecystitis
GERD
Gallstone
Esophageal spasm อาการเจ็บคล้ายถูกบีบรัด
Pancreatitis
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
อาการเจ็บหน้าอกเป็นแบบเจ็บตึงหรือเจ็บแปล๊บ
Costochondritis เรียก Tietzesyndrome
มีการอักเสบ บวม แดง ร้อน กดเจ็บกระดูกอ่อน
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจอื่นๆ
Mitral valve prolapse
Aortic stenosis
Hypertrophic cardiomyopathy
Aortic dissection
เกิดขึ้นเฉียบพลันและมีอันตรายถึงชีวิต
อาการเจ็บหน้าอกทันทีและรุนแรง เจ็บเหมือนถูกแทงหรือมีการฉีกขาดในทรวงอก
Pericarditis
เป็นอาการเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
มีลักษณะเจ็บแปล๊บๆ คล้ายถูกเข็มทิ่ม
เหมือนเจ็บจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
Myocardial ischemia/infarction
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด/หลอดเลือดหัวใจตีบตัน
อาการแน่นหน้าอก เป็นมากขึ้นขณะออกแรง
อาการเจ็บแน่นหน้าอกลดลงเมื่อหยุดพักหรือได้รับ nitroglycerin
มีอาการเจ็บแน่นอกบริเวณกลางหน้าอกหรือ ค่อนไปทางซ้าย
ลักษณะคล้ายถูกบีบรัดหรือมีอะไรมาทับ (Squeezing, heaviness, pressure)
การบอกลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
Atypical angina
Non-angina chest pain
Typical angina
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบผิวหนัง
โรคงูสวัด herpes zoster
ผิวหนังอักเสบ ปวดแสบร้อน
โรคเต้านมอักเสบ
กลุ่มอาการปัสสาวะผิดปกติ/ปัสสาวะลำบาก
Abnormal Urination / Dysuria
ปัสสาวะลำบาก (Dysuria)
Inflammation
โรคหรือภาวะที่มีการอักเสบ
โรคติดเชื้อ
Non–infectious diseases
Non-infalammatory processes
โรคต่อมไร้ท่อ เนื้องอก
อุบัติเหตุ
ยา
ไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ interstitis cystitis
ความผิดปกติของอวัยวะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Plan for diagnosis )
การส่งตรวจเฉพาะ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary Incontinence, UI)
Acute/transient urinary incontinence
Atrophic Urinary incontinence
ยา เช่น ยาขับปัสสาวะ
Delirium
Polyuria
Cystitis
Chronic/established urinary incontinence
Reflex Incontinence
Overflow Incontinence และ urinary retention
Mixed urinary incontinence
Eetraurethral Incontinence
Urge Incontinence และ Overactive bladder
Functional incontinence
Stress Incontinence
แผนการรักษา
(Plan for treatment)
การรักษาตามอาการ/อาการเฉพาะ
ปัสสาวะ (Frequent urination)
ปัสสาวะบ่อยร่วมกับปริมาณปัสสาวะปกติ มีลักษณะกะปริบกะปอย
ปัสสาวะร่วมกับปริมาณปัสสาวะมากกว่าปกติ โดยเฉพาะเกิน 3 ลิตร/วัน หรือ Polyuria พบใน DM ดื่มน้ำมาก
นางสาวชนิดา เล็กเปีย ชั้นปีที่ 3 รุ่น 35 เลขที่ 17