Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Psychosocial Theory Of Aging, นางสาวธนวรรณ นิมานบูรณวิจิตร เลขที่ 31 ห้อง…
Psychosocial Theory Of Aging
Disengagement theory
ผู้สูงอายุลดการทำกิจกรรมทางสังคม การถดถอยออกจากสังคมเป็นการกระทำที่ไม่มีทาทงเลือก เพือเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน เช่น การเกษียณอายุการทำงาน การเจ็บป่วยหรือมีภาวะทุพพลภาพ
แนะนำให้ผู้สูงอายุหางานอดิเรกทำเพื่อที่จะได้ไม่เบื่อ
Continuity theory
บุคลิกภาพและรูแบบพฤติกรรมของตนจะไม่เปลี่ยนไปเมื่ออายุมากขึ้น แบบแผนกิจกรรมในปัจจุบันจะเป็นบานของรูปแบบการทำกิจกรรมเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ
สนับสนุนให้คงไว้ซึ่งแบบแผนพฤติกรรม
เดิมจะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุปรับตัวได้ดี
เมื่อต้องเผชิญกับความสูงอายุ
Course of human life theory
อธิบายเกี่ยวกับบุคลิกภาพของผู้สูงอายุว่าแต่ละคนจะมีเป้าหมายในชีวตทิี่แตกต่างกันซึ่งทุกคนจะใช้ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์ที่ดีที่ เขาสามารถบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้หรือ ประสบการณ์ที่ผิดพลาดหรือล้มเหลวเพื่อนํามาปรับปรุงแก้ไขปัจจุบันโดยผ่านกระบวนการทบทวนชีวิต เรียกว่า “Life review process” ซึ่งเป็นกระบวนการที่ผู้สูงอายุทบทวนถึงช่วงวัยต่างๆ ในชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและนําประสบการณ์ต่าง ๆ มาปรับปรุงหรือคงไว้เพื่อที่จะทำให้พวกเขาบรรลุเป้าหมายในชวิตได้
Peck's theory
แบ่งผู้สูงอายุเป็นสองกลุ่ม คือ ผู้สูงอายุวัยต้นและวัยปลาย ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้จะมีความแตกต่างทั้งด้านกายภาพและจิตสังคม ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่าผู้สูงอายุมีการพัฒนาการ 3 ประการ
ความรู้สึกของผู้สูงอายุขึ้นอยู่กับงานที่มีทําอยู่ผู้สูงอายุจะรู้สึกภาคภูมิใจและเห็นว่าตนเองมีคุณค่าแต่เมื่อเกษีอายุแล้วความรู้สึกนี้จะลดลง ฉะนั้นบางคนจะสร่างความพึงพอใจต้อไปโดยการหางานอื่นทําแทนเช่นปลูกต้นไม้
ผู้สูงอายุยอมรับว่าเมื่ออายุมากขึ้น สมรรถภาพของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติร่างกายมีความแข็งแรงลดลง ชีวิตจะมีความสุขถ้าสามารถยอมรับและปรับความรู้สึกได้
ผู้สูงอายุยอมรับว่าร่างกายต้องเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติยอมรับเรื่องความตายโดยไม่รู้สึกกลัว
Jung's theory of andividualism
อธิบายว่าบุคคลเมื่อเข้าวัยกลางคนมักจะเริ่มถามตัวเองเกี่ยวกับคุณค่าความเชื่อของตนเอง หรือความฝันต่างๆที่ยังไม่ได้ทําซึ่งจะเป็นช่วงที่บุคคลจะค้นหาเป้าหมายในชวิตของตนเอง เขามักจะถามว่าอะไรที่เขารู้สึกว่าอยากจะทําแต่ยังไม่ได้ทำและมักพยายามคนหาคำตอบนั้นผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะสามารถยอมรับใน การกระทําที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นความสําเร็จหรือข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้นกับเขาในอดีต
The Activity theory
ผู้สูงอายุยังคงทำกิจกรรมต่างๆเหมือนที่เมื่อก่อนเคยทำ เช่นก่อนเกษียณเป็นครูพอเกษียณแล้วก็ยังทำงานเป็นครูสอนหนังสืออยู่
สนับสนุนให้ผู้สูงอายุยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงตามวัย
กระตุ้นให้ผู้สูงทำกิจกรรมอย่าง
ต่อเนื่อง
Maslow's theory
อธิบายทฤษฎีว่าแต่ละบุคคลจะมีลําดับขั้นตอนความต้องการไม่เหมือนกันการพยายามทําเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการจะเป็นแรงจูงใจทําให้ส่งผลต่อพฤติกรรมของบุคคลนั้น ๆ เมื่อบุคคลได้รับการตอบสนองความตองการในระดับหนึ่ง เขาจะพยายามที่จะแสวงหาความต้องการในระดับที่สูงขึ้นฉะนั้นเมื่อบุคคลอายุมากขึ้น ความ ต้องการขั้นพื้นฐานได้รับการตอบสนองแล้วผู้สูงอายุจึงต้องการที่จะเป็นผู้ที่มีอํานาจใจตนเอง มี ความอิสระตลอดจนการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลรอบข้างและเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป
Erikson's Epigenetic theory
แบ่งพัฒนาการทาง บุคลิกภาพของชีวิต โดยเน้นความแตกต่างของความ สัมพันธ์ระหว่างช่วงอายุของคนเรากับความต้องการด้านเจตคติและทักษะและความตองการด้านจิตใจไว้เป็น 8 ระยะ ถ้าทำสำเร็จก็จะมีความมั่นคงแต่ถ้าไม่เสำเร็จก็จะเหงาหง่อย
นางสาวธนวรรณ นิมานบูรณวิจิตร เลขที่ 31 ห้อง A