Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการสูงอายุ(Ageing Theory), ภาวะที่ต้องเผชิญกับความเครียดบ่อยๆจะทำให้เ…
ทฤษฎีการสูงอายุ(Ageing Theory)
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
เป็ยทฤษฎีที่พยายามธิบายความชราทางชีววิทยาซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นในร่างกายของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
จนกระทั่งไม่สามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนวัยเด็กวัยหนุ่มสาวทฤษฎีนี้เป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
เมื่อเข้าสู่วัยชรากระบวนการเปลี่ยนแปลงของความชราที่เกิดขึ้นมักจะสัมพันธ์กับอายุสิ่งมีชีวิตซึ่งอธิบายในเรื่องของผลกระทบของความชราที่ทำให้ระบบการทำหน้าที่ของอวัยวะในร่างกายทำงานลดลง
ทฤษฎีความสูงอายุที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม
ทฤษฎีเกี่ยวกับพันธุกรรมในเซลล์(Cellular genetic theory)
เป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันะุกรรมเรียงตัวอยู่บนโครโมโซมยีนจำเพาะหนึ่งซึ่งหน่วยหนึ่งมาจากพ่อและอีกหน่วยมาจากแม่เป็นตัวกำหนดลักษณะหนึ่งๆของคน
ยีนควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมโดยควบคุมการสร้างเอนไซม์โดยการควบคุมการสร้างโปรตีนเนื่งจากเอนไซม์ทุกตัวมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
ยีนหนึ่งควบคุมลักษณะของโปเปปไทด์หนึ่งชนิดส่วนประกอบนี้จะทำหน้าที่เป็นรหัสพันธุกรรม
ทฤษฎีการผ่าเหล่า(Somatic mutation theory)
เกิดขึ้นจากรังสีทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของDNAเป็นตัวเร่งให้เเก่เร็วขึ้นรังสีจะทำให้โครโมโซมผิดปกติและมีจำนวนมากขึ้น
การผ่าเหล่าสะสมเพิ่มขึ้นจนถึงจุดที่เสียหน้าที่ของยีนและโครโมโซมจะทำให้ร่างกายไม่สามารถผลิตโปรตีนได้
การผ่าเหล่าจะพบได้ภายหลังที่มีการแบ่งเซลล์ในรุ่นต่อไปเนื่งจากความผิดพลาดในการจำลอง
ทฤษฎีความผิดพลาด(Error theory of aging)
การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นในวัยหนุ่มสาวต่อมาเมื่ออายุสุงขึ้นอัตราการเกิดก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมความผิดพลาดหรือความบกพร่องเกี่ยวกับส่วนประกอบระดับโมเลกุลเซลล์
ทฤษฎีวิวัฒนาการ(Evolution theory)
ความสูงอายุมีการปรับตัวตามวิวัฒนาการสิ่งมีชีวิตโดยการสร้างสววรค์สิ่งที่ดีกว่าเพื่อความอยู่รอดในสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ความสูงายุเป็นสิ่งที่ผนวกเข้าเป็นช่วงชีวิตหนึ่งของการเจริญและแพร่พันธ์
ทฤษฎีนาฬิการชีวภาพ(Watch spring theory)
ความสูงอายุถูกกำหนดไว้โดยรหัสที่อยู่ในยีนต่างๆหรือระบบถึงเวลาที่กำหนดให้
สำหรับมนุาย์ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ85-90ปี
ทฤษฎีความสูงอายุที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม(Nongenetic cellular theory)
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม(Wear and tear theory)
เมื่ออายุมากขึ้นเซลล์ก็จะเสื่อมลงและตายทำให้การทำงานลดลง
มนุษย์และเครื่องจักรจะแตกต่างกันเพราะมนุษย์จะสามารถซ่อมแซมตัวเองได้และใช้งานต่อไปโดยสร้างกระบวนการสร้างใหม่เพื่อทดแทน
ทฤษฎีนี้ได้เปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตคล้ายกับเครื่องจักรเมื่อมีการใช้งานมากๆก็จะเกิดความผิดปกติขึ้น
ทฤษฎีการสะสม(Accumulative theory)
การสะสมของเสียจากการเผาผลาญอาจจัดเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสูงอายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเซลล์จะไม่มีการแบ่งตัวอีก
ความสูงอายุของเซลล์เกิดจากการคั่งค้างของเสียสะสมในเซลล์เป็นระยะเวลานานทำให้เซลล์เปลี่ยนแปลงรูปร่างและเสียปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ(Free radial theory)
เชื่อว่าการสะสมของอนุมูลอิสระเกิดขึ้นรวดเร็วกว่าการซ่อมแซม
ความสูงอายุเกิดจากร่างกายมีการสะสมของอนุมูลอิสระมากขึ้นจนเกิดเป็นสารหรือโมเลกุลที่มีฤทธิ์ทำลาย
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง(Cross-linking theory)
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย
พบมากในผิหนัง เอ็น กระดูก กล้าเนื้อ หลอดเลือดหัวใจ
ความสูงอายุเกิดขึ้นจากการเชื่อมตามขวางของโมเลกุลของโปรตีนส่วนใหญ่จะพบการเชื่อมตามขวางมากที่สุดในอิลาสตินและคอลลาเจน
ทฤษฏีความเครียดและการปรับตัว(Stress and adaptation theory)
ทฤษฎีความสูงอายุที่เกี่ยวข้องกับสรีรวิทยา(Physiological theory)
กล่าวถึงความมีอายุเป็นผลมาจากความล้มเหลวของการทำงานต่างๆภายในร่างกายทฤษฎีที่เกี่ยวข้อได้แก่
ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน(Immunological theory)
ทำหน้าที่ป้องกันร่างกายจุลินทรีย์ที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมภายนอกเซลล์แปลกปลอมซึ่งเป็นอันตรายแกร่างกายตนเอง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ(Neuroendocrine theory)
ต่อมไทรอยดืจะมีขนาดเล็กลงหลังอาย50ปีขึ้นไป
ต่อมใต้สมองโดยเฉพาะต่อมใต้สองส่วนหน้าจะเสื่อมหน้าที่ลงอย่างรวดเร็วฮอร์ต่ำเป็นผลให้ผู้สูงอายุเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ตับอ่อนจะผลิตอินซูลินได้น้อยลงเป็นผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
ปกติการทำงานของระบบสมองประสาทอัตโนมัติและต่อมไร้ท่อจะทำงานประสานและควบคุมซึ่งกันและกันเพื่อให้ร่างกายดำเนินได้ตามปกติ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม(Psychosocial theories of aging)
ทฤษฎีของบูเลอร์(Coure of human liife theory)
บุคลิกภาพของผู้สูงอายุว่าแต่ละคนจะมีเป้าหมายในชีวิตที่แตกต่างกันออกไปประสบการณ์ในชีวิตจะนำมาซึ่งการพัฒนาในชีวิต
ทฤษฎีความต้องการพื้นฐานของมาสโลว์(Maslow's theory)
แต่ละบุคคลจะมีลำดับขั้นตอนความต้องการที่ไม่เหมือนกันการพยายามเพื่อได้มาซึ่งความต้องการจะเป็นแรงจูงใจทำให้ส่งผลผลต่อพฤติกรรมบุคคลนั้นๆ
ทฤษฎีการถอทอยจากสังคม(Disengagement theory)
เชื่อว่าบุคคลเมื่อถึงวัยสูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนที่ลดลงทำให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีลักษณะแยกตัวออกจากสังคมทีละน้อย
ทฤษฎีความต่อเนื่อง(Continuity theory)
ผู้สูงอายุอาจจะมีความสุขในการทำกิจกรรมต่างๆได้ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนการดำเนินชีวิตที่มีมาในอดีตของแต่ละคนปฏิบัติมาก่อน
ทฤษฎีของแพค(Peck's theory)
ผู้สูงอายุยอมรับสว่าร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติยอมรับรับเนื่องความตายโดยไม่รู้สึกกลัว
ทฤษฎีอีริกสัน(Erison's Epigenetic theory)
เป็นช่วงวัยที่ประสบความสำเร็จส่งผลให้มีความมั่นคงมีความภาคภูมิใจในตนเองและสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน
ทฤษฎีการมีกิจกรรมร่วมกัน(The Activity theory)
การที่ผู้สูงอายุจะประสบความสำเร็จได้ผู้สูงอายุต้องมีการทำกิจกรรมอยู่เสมอไม่ถอนตัวออกจากสังคมและสิ่งแวดล้อมผูสูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิต
ทฤษฎีของจุง(Jung's theory of andividualism)
เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนมักจะเริ่มถามตัวเองเกี่ยวกับคุณค่าความเชื่อตนเองหรือความฝันต่างๆที่ยังทำไม่ได้
ภาวะที่ต้องเผชิญกับความเครียดบ่อยๆจะทำให้เกิดการสูงอายุเร็ว
ปฏิกิริยาของร่างกายที่มีผลต่อความเครียดจะมีผลรบกวนการทำงานของเซลล์ทำให้เซลล์ตายได้