Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการสูงอายุเชิงจิตสังคม (Psychosocial theory of aging), ผู้จัดทำ :…
ทฤษฎีการสูงอายุเชิงจิตสังคม
(Psychosocial theory of aging)
Concept หลัก : ความชราเป็นกระบวนการทางจิตวิทยาสังคม เพื่อปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดกระบวนการสูงอายุ
อธิบายกระบวนการคิด และพฤติกรรมของผู้สูงอายุ ทำให้สามารถวางแผนการดูแล ผู้สูงอายุได้
ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory)
Concept หลัก : กิจกรรมทางสังคมมีผลต่ออัตตมโนทัศน์ของผู้สูงอายุ และการได้ทำกิจกรรมทำให้มีความสุข
ผู้สูงอายุไม่หยุดทำกิจกรรมทางสังคม โดยผู้สูงอายุจะเลือกทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
สนับสนุนให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลงตามวัย
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
อธิบายว่า ถ้าบุคคลใดมีกิจกรรมมากอย่าง จะสามารถปรับตัวได้มากขึ้นเท่านั้น และมีความพึงพอใจในชีวิตสูง ที่ทำให้เกิดคงวามสุขในการดำเนินชีวิตต่อไป แนวคิดนี้จะเห็นว่ากิจกรรมเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับผู้สูงอายุมากกว่าการลดบทบาท (Role Loss) ทางสังคมลง และจะพบว่าผู้สูงอายุมีทัศนะเกี่ยวกับตนเอง ในทางบวก และมองโลกในแง่ดี จะมีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม และบทบาทใหม่ ๆ ให้กับผู้สูงอายุพอสมควร กิจกรรมเหล่านี้ จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้สมวัย กิจกรรมที่น่าจะจัดให้กับผู้สูงอายุ ได้แก่ งานอดิเรกต่าง ๆ งานอาสาสมัคร เป็นที่ปรึกษาให้กับหน่วยงานต่าง ๆ และเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ หรือเกษียณอายุงานแล้ว เวลาว่างหาได้ง่าย และมีมาก กิจกรรมยามว่างไม่ว่าเพื่อนันทนาการ หรือการเรียนรู้สิ่งใหม่ หรือให้บริการผู้อื่น จึงเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งนำความพึงพอใจมาให้ ทำให้มีชีวิตชีวา และมีความหมาย การที่เกษียณอายุการงานอย่างไม่มีจุดหมาย จะนำไปสู่ความเซ็ง เบื่อหน่าย และแยกตัวออกจากสังคม ความจริงนั้นกาย และจิตใจเจริญงอกงาม ขึ้นตามแรงกระตุ้นของกิจกรรมต่างๆ จึงเป็นการดี ที่เราควรจะมีกิจกรรมมากระตุ้นชีวิตของเราให้เจริญงอกงาม
ทฤษฎกีารถดถอย (Disengagement Theory)
Concept หลัก : ความสูงอายุ เป็นกระบวนการถดถอยออกจากการดำเนินชีวิตในสังคม
ผู้สูงอายุลดการทำกิจกรรมทางสังคม
การถดถอยออกจากสังคมเป็นการกระท าที่ไม่มีทางเลือก ไม่ได้เกิดจากความสูงอายุ แต่ เป็นกลไกทางสังคมทปี่้องกนัความคบัข้องใจในการเปลยี่นแปลงบทบาทในสังคม เพอื่เปิด โอกาสให้คนรุ่นใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน และให้ดำเนินต่อไปเมื่อคนรุ่นเก่าเสียชีวิตแล้ว
จากการเกษียณอายุการทำงาน
การเจ็บป่วยหรือมีภาวะทุพพลภาพ
การประยุกต์ใช้ทฤษฎี
จัดตั้งการอบรมสัมนาในหัวข้อการเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุ เพื่อให้สามารถวางแผนการดำเนินชีวิตหลังเกษียณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมกับสมาชิคต่างวัย เพื่อให้รู้สึกมีคุณค่าเป็นสมาชิคสังคม โดยคงไว้ซึ่งความรู้สึกมีอำนาจในการควบคุมสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยของตนเอง
ทฤษฎคีวามต่อเนื่อง (Continuity Theory)
Concept หลัก : บุคลิกภาพ และรูปแบบพฤติกรรมของตนจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น แบบแผนกิจกรรมที่บุคคลเคยทำในปัจจุบัน จะเป็นฐานของรูปแบบการทำ กิจกรรมเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ
การคงไว้ซึ่งแบบแผนพฤติกรรมเดิม
จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุปรับตัวได้ดี เมื่อต้องเผชิญกับความสูงอายุ
ตัวอย่าง เช่น ครูสอนหนังสือหลาน,พยาบสลนำเต้นแอโรบิค
การประยุกต์ใช้
นำไปแนะนำหรืออธิบายให้ผู้สูงอายุเข้าใจ เช่น ผู้สูงอายุที่ชอบมีชีวิตอยู่อย่างสันโดษ ไม่เคยมีบทบาทในสังคมแต่ครั้งแรกเป็นวันรุ่น วัยกลางคเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุก็จะแยกตัวออกจากสังคม
หรือใช้ในผู้สูงอายุที่ชอบร่วมกิจกรรมในสังคมตั้งแต่ครั้งเป็นวัยรุ่นวัยกลางคนเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุก็ยังคงร่วมกิจกรรมเหมือนเดิม
ผู้จัดทำ : นายสุรเดช วงศ์แหวน
เลขที่ 49 ห้อง A