Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Febrile Convulsion (ภาวะชักจากไข้สูง) - Coggle Diagram
Febrile Convulsion (ภาวะชักจากไข้สูง)
สาเหตุ
ไข้ มีส่วนที่สำคัญทำให้การเปลี่ยนแปลงเมตะบอลิซึมของเซลล์ประสาทสมองไวต่อการที่ทำให้เกิดการชัก
การตรวจวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจทางระบบประสาท
ตรวจ Brudzinski’s sign
ตรวจKerning’s sign
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่งตรวจ CBC
1.การซักประวัติ
ประวัติการชัก
อาการก่อนชัก หลังชัก
ประวัติพัฒนาการ
4.การเจาะน้ำไขสันหลัง
5.การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG
6.การตรวจMRI
การรักษา
2.การรักษาภายหลังที่เด็กหยุดชัก
แพทย์จะซักประวัติ ตรวจร่างกาย และตรวจพิเศษอื่นๆ เพื่อค้นหาสาเหตุ
1.การรักษาขณะทีเด็กกำลังชัก
ถ้ามีอาการชักนานเกิน 5 นาที ให้ยา Diazepam 0.3 mg/kg/dose-0.5 mg/kg/dose ทางหลอดเลือดดำ
ในกรณีที่เด็กชักซ้ำ ให้ได้อีกภายใน 5 นาที ไม่เกิน 2 ครั้ง
การพยาบาลเบื้องต้น
3.การป้องกันอันตรายขณะเด็กชัก
ขณะเด็กชัก ไม่ผูกยึดแขนหรือขา
ระวังเด็กตกเตียง
จัดให้เด็กนอนพักผ่อนในห้องที่สงบ
4.สังเกตอาการชัก ภายหลังการชัก และจดบันทึกอาการ
ลักษณะการชัก ระยะเวลาการชัก
เมื่อเด็กหยุดชัก สังเกตพฤติกรรมของเด็ก และระดับการรู้สึกตัว
ลักษณะการหายใจ ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.อธิบายให้มารดาเข้าใจ
ให้มารดามีทักษะในการดูแลเบื้องต้นที่ถูกต้องเมื่อเด็กมีไข้
ภาวะชักจากไข้ มักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบประสาท
1.การพยาบาลเบื้องต้น
จัดให้เด็กนอนราบ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกัน Airway obstruction
คลายเสื้อผ้าที่รัดออกจากตัวเด็ก
ตรวจวัด Vital sign ทุก 4 ชั่วโมง
อาการชักแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.Simple febrile seizure (ภาวะชักจากไข้ธรรมดา)
เกิดขึ้นไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีอาการชักซ้ำ ภายใน 24 ชั่วโมง
ไม่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
2.Compiex febrile seizure ( ภาวะชักจากไข้แบบซับซ้อน)
เกิดขึ้นซ้ำภายใน 24 ชั่วโมง
มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ระยะเวลาชักนานเกิน 15 นาที
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2ไม่สุขสบายจากการไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
3.คลายเสื้อผ้าเด็กให้หลวมๆ
1.วัดv/s ทุก4ซม.
4.ดูแลเรื่องระบบทางเดินหายใจให้เด็กหายใจได้สะดวกโดยจัดให้นอนตะแคงศีรษะต่ำกว่าลำตัว
5.รับประทานยาลดไข้ตามแผนการรักษา
6.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน
3.เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุและอันตรายจากการซัก
กิจกรรมการพยาบาล
3.ไม่ควรผูกยึดตัวเด็กขณะที่มีอาการซัก
4.คลายเสื้อผ้าให้หลวมโดยเฉพาะรอบๆคอเพื่อให้หายใจได้สะดวก
2.จัดให้เด็กนอนราบใช้ผ้านิ่มๆเช่นผ้าห่หรือผ้าเช็ดตัวหนุนบริเวณใต้ศีรษะเพื่อป้องกันไม่ให้ศีรษะกระแทกกับพื้นเตียง
5.ไม่ใช้ไม้กดลิ้นผู้ป่วยเพราะอาจจะเป็นอันตรายจากการฟันหัก
1.จัดให้เด็กนอนตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำลายไหลออกจากปาก
6.ดูแลให้ยาควบคุมการซักตามแผนการรักษา
7.สังเกตและบันทึกการซัก ลักษณะใบหน้า ระดับการรู้สติของเด็ก ก่อน ระหว่าง และหลังการซัก
ข้อวินิฉัยข้อที่ 1.เสี่ยงต่อการเกิดอาการซักซ้ำเนื่องจากไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
3.กระตุ้นการดื่น้ำ,ดูดนม
4.ดูแลให้ยาลดไข้ตาแผนการรักษา(กรณีไข้มากกว่า38องศาเซลเซียส)
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
5.ดูแลให้สวมเสื้อผ้าบางๆ
1.วัดv/s (Temp,Pulse,RR) ทุก4ซม
6.ติดตามไข้ทุก15-30นาที
7.ดูแลให้พักผ่อนสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ว่ามีอาการชัก
8.เตรียออกซิเจนและลูกสูบยางแดงประขำ
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 5 จำหน่ายผู้ป่วยการจัดการอาการไข้
กิจกรรมการพยาบาล
3.แจกเอกสารแผ่นพับเรื่องการดูแลผู้ป่วยอาการซักเมื่อกลับบ้าน
4.แนะนำการอ่านสื่อโปสเตอร์การจักการอาการไข้
2.สาธิตและให้ผู้ดูแลสาธิตย้อนกับเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเช่นการเช็ดตัวลดไข้
5.เปิดโอกาสให้ผู้ดูแลซักถาข้อสงสัย
1.สอน/อธิบายเกี่ยวกับการจักการอาการไข้
4.ผู้ดูแลวิตกกังวล/เครียดเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
3.ให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เมื่อรู้สึกกังวลว่าผู้ป่วยจะมีไข้
4.ดูแล ติดตาม ให้กำลังใจอย่างใกล้ชิดในระยะแรก ประเมินว่าผู้ดูแลยังขาดความรู้/ความเข้าใจ/ทักษะอยู่หรือไม่
2.อธิบายการจักการอาการไข้เพื่ให้ผู้ดูแลมั่นใจว่าสามารถช่วยป้องกันอาการซักได้
1.พยาบาลอธิบายข้อมูลการ การรักษาที่ได้รับเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง