Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะไม่สุขสบาย ในหญิงตั้งครรภ์ช่วงไตรมาส 1 pregnancy-test-1, อ้างอิง : …
ภาวะไม่สุขสบาย
ในหญิงตั้งครรภ์ช่วงไตรมาส 1
คลื่นไส้ อำเจียน
(Nausea and vomiting)
คือ อาการแพ้ท้อง ทำให้มีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ
/ ส่วนใหญ่จะเริ่มแพ้ท้องประมาณอายุครรภ์ 6-8 สัปดาห์ และ
จะหายไปเองเมื่ออายุครรภ์ 12-16 สัปดาห์
// ทำให้ร่างกาย
ขาดน้ำ เสียสมดุลของแร่ธาตุ และขาดอาหาร
สาเหตุ
ด้านจิตใจและอารมณ์
ความเครียด
ความกังวล
ฮอร์โมนเอชซีจี (HCG) หรือ โปรเจสเตอโรนมีระดับ สูงขึ้น
ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้บีบตัวน้อยลง
อาหารในกระเพาะอาหารเคลื่อนผ่านลำไส้ช้าลง
ทำให้เกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อและอาหารไม่ย่อย
การป้องกันและบรรเทาอาการ
ไม่ปล่อยให้ท้องว่างหลังตื่นนอนตอนเช้า ควรกินขนมอบกรอบ หรือเครื่องดื่มอุ่นๆ ก่อนลุกจากที่นอน
หากท้องว่างจะทำให้ กล้ามเนื้อของระบบทางเดินอาหาร ถูกกระตุ้นให้บีบตัวได้ง่ายและรุนแรงกว่าปกติ
จนเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
กินอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย และกินมื้อละน้อยไม่อิ่มเกินไป แต่กินบ่อยครั้งขึ้น
โดยแบ่งเป็นวันละ 5-6 มื้อ
เช่น มื้อหลัก 3 มื้อ อาหารว่างอีก 2-3 มื้อ
หลีกเลี่ยง
อาหารรสจัด อาหารทอดที่มีไขมันมาก
อาหารมีกลิ่นแรง
ทำให้มีแก๊สในลำไส้
กินวิตามินที่คุณหมอจ่ายให้ เช่น วิตามินบี 6
เพื่อช่วยลดอาการคลื่นไส้อาเจียน
แต่ไม่ควรซื้อยากินเอง --> อาจมีผลเสียต่อลูกน้อย
4.
4.2.ดื่มนม น้ำเต้าหู้ น้ำผลไม้ใส่น้ำแข็ง
ช่วยลดน้ำย่อยที่ตกค้างอยู่ในหลอดอาหารได้
4.1. ดื่มน้ำขิงอุ่นๆ หรือ ลูกอมที่มีส่วนผสมของขิง
ช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
ควรหาลูกอมหวานๆ
หากน้ำตาลในเลือดต่ำ --> อาจเกิดหน้ามืดเป็นลม
หลีกเลี่ยงกลิ่นอาหาร หรือ ควันบุหรี่
จะกระตุ้นให้อาเจียนมากขึ้น
หลังอาเจียนควรบ้วนปากให้สะอาด
เวียนศีรษะและเป็นลม หน้ามืด
เกิดได้ตลอดระยะตั้งครรภ์
แต่มักพบในกรณีที่คุณแม่เปลี่ยนท่าทางเร็วเกินไป หรือนอนหงายราบนานๆ
สาเหตุ
ปริมาตรโลหิตเพิ่มขึ้นทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ออกซิเจนจึงไปเลี้ยงสมองได้น้อยลง
2.อากาศร้อนทำให้หลอดเลือดขยายตัว จนเกิดความ ดันโลหิตต่ำ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอจึงเกิด --> อาการหน้ามืด
การนอนหงายราบกับพื้น
ทำให้น้ำหนักของมดลูกกดทับบนหลอดเลือดบริเวณหลัง
มีผลให้เลือดกลับเข้าสู่หัวใจ
และไปเลี้ยงสมองน้อยลง
การอดอาหารโดยเฉพาะมื้อเช้า หรือปล่อยให้หิวมาก
ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
และสมองขาดน้ำตาล
การปรับเปลี่ยนอิริยาบถรวดเร็วเกินไป
การป้องกันและ
บรรเทาอาการ
กินอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่
และกินยาบำรุงเลือด
เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
พักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยง
การนอนหงายเป็นเวลานาน ควรนอนตะแคง
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด อากาศร้อน ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
เช่น ตะแคงตัวก่อนลุกจากที่นอน นั่งสักพักก่อนลุกยืน
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ
ขณะมีอาการหน้ามืด เวียนศีรษะ
แสบร้อนยอดอกหรือกรดไหลย้อน
การป้องกันและ
บรรเทาอาการ
หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัดและอาหาร
ที่ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร
3.กินอาหารช้าๆ ครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
เพื่อไม่ให้กระเพาะอาหารเต็มจนเกินไป
นั่งหรือเดินเล่นหลังกินอาหาร และไม่นอนราบ หรือนั่งหลังงอ หลังกินอาหารทันที
เมื่อรู้สึกแน่นท้องให้ดื่มน้ำขิง และเดินเล่นสักพัก
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำมากๆ ระหว่างกินอาหาร แต่ควรดื่มให้ได้ 8-10 แก้วต่อวัน
อาจดื่มนม 1 แก้วก่อนนอน
เพื่อช่วยลดความเป็นกรดของน้ำย่อยในกระเพาะอาหารได้
หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีไขมัน
เพราะย่อยยาก และจะไปกระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
หลีกเลี่ยงการกินผลไม้ ดื่มน้ำผลไม้รสเปรี้ยว หรืออาหารที่เผ็ดร้อน
ดื่มน้ำมะตูม น้ำขิง หรือน้ำกระชายร้อนๆ กับขมิ้นขาว หรือขมิ้นชัน
เพื่อช่วยขับลม ช่วยย่อยอาหาร และแก้ลมจุก
หากมีอาการรุนแรง
ให้นอนศีรษะสูงหรือหนุนหมอนหลายใบรองตั้งแต่เหนือเอวถึงศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ไปลดการทำงานของระบบทางเดินอาหาร
ทำให้กล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารคลายตัว
กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไป
ระคายเคืองเยื่อบุในหลอดอาหาร
มดลูกจะดันกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
ท าให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กไหลย้อนเข้าไปในหลอดอาหารได้ง่ายขึ้น
อาการปวดแสบยอดอก
มักเกิดร่วมกับอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ความเครียดและสภาพอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง
อาการท้องอืด หรือการกินอาหารที่ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหารมากเกินไป
เช่น ผักชะอม กระถิน ถั่วลิสง มะม่วงดิบ
หรือชอบดื่มชา กาแฟ น้ าอัดลม
ทำให้เรอเอาน้ำย่อยไหลย้อนมาระคายเคืองหลอดอาหาร
// จึงทำให้รู้สึกแสบร้อนที่หลอดอาหาร อาจร้าวไปที่ยอดอกและลำคอ บางครั้งอาจรู้สึกขมในปากและลำคอ
/ เกิดจากน้ำย่อยในกระเพาะอาหารซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรดได้ไหลย้อนขึ้นไประคายเคืองเยื่อบุหลอดอาหาร
จนเกิดอาการแสบร้อนหรือจุกเสียดบริเวณยอดอกใต้ลิ้นปี่
อารมณ์แปรปรวน
สาเหตุ
เกิดจากระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีสูงขึ้น
ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละช่วงของการตั้งครรภ์
ช่วงไตรมาสแรก
ระดับฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้น
จากปกติอย่างรวดเร็วจนท าให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน
ไม่สุขสบายจากอาการแพ้ท้อง
ส่งผล
ให้คุณแม่นอกจากอารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ
การป้องกันและ
บรรเทาอาการ
คนใกล้ชิดต้องเข้าใจสาเหตุและอารมณ์ที่เปลี่ยนไป
รับมือกับอารมณ์ต่างๆ อย่างรู้เท่าทัน
ผ่อนคลายความตึงเครียดบ้าง
ไม่คิดฟุ้งซ่านหรือหมกมุ่นอยู่กับตัวเองจนเกินไป
เช่น
ฟังเพลงสบายๆ
อ่านหนังสือที่ชอบ
ดูหนังสนุกๆ
หางานอดิเรกทำให้เพลิดเพลิน
ออกกำลังกายเบาๆ หรือ การนั่งสมาธิ
เพื่อจิตทำจิตใจให้สงบและผ่อนคลาย
ร่างกายหลั่งสารแห่งความสุข --> อารมณ์ดีแล้ว และสุขภาพดี
ทำกิจกรรมนอกบ้านเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศไม่ให้รู้สึกซ้ำซากจำเจ
เช่น
นัดสังสรรค์กับเพื่อนๆ
นัดรวมญาติเพื่อกินข้าวนอกบ้าน
เดินเล่นดูของ
ไปเที่ยว พักผ่อนบ้าง
มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
อาจรู้สึกดีใจ อยู่ดีๆ
ก็หงุดหงิดอารมณ์เสีย น้อยใจกับเรื่องเล็กน้อย
บางครั้งก็รู้สึกเศร้าๆ
โดยไม่มีเหตุผล
เจ็บเต้านม
เต้านมจะมีขนาดโตและคัดตึงตลอดระยะเวลา ที่ตั้งครรภ์ มักเป็นอาการแรกๆ
ยิ่งใกล้กำหนดคลอด
เต้านมจะมีขนาดใหญ่ขึ้น
และ หนักมากขึ้น จนทำให้รู้สึกปวดและถ่วงที่ฐานเต้านม
แสดงว่า
เต้านมเตรียมพร้อมสำหรับการสร้างน้ำนมให้ลูกน้อย
น้ำนมจะมีสีเหลืองข้นไหลซึมออกมาจากหัวนมเล็กน้อย
ซึ่งเป็นภูมิต้านทาน
ป้องกันไม่ให้ลูกน้อยติดเชื้อได้ง่าย
สาเหตุ
ฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์
ทำให้เต้านมขยายใหญ่ขึ้น
โครงสร้างของเต้านมจะถูกถ่วงดึงจากน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น
ต่อมน้ำนมจะคัดตึง
เพื่อเตรียมสร้างน้ำนม
การป้องกันและบรรเทาอาการ
สวมแผ่นซับน้ำนมไว้ใต้เสื้อยกทรง
เพื่อซับน้ำนมที่ไหลออกมา
ทำความสะอาดเต้านมและหัวนมวันละครั้ง
ขณะอาบน้ำด้วยสบู่ --> ซับให้แห้ง
เปลี่ยนยกทรงให้มีขนาดพอดีกับเต้านม สวมใส่ สบาย
ทาหัวนมด้วยโลชั่นหรือออยด์สำหรับเด็กอ่อน
ท้องผูก
แน่นอึดอัดท้อง
อาการท้องผูกจะรุนแรงมากในคุณแม่ที่ไม่ชอบกินผักและผลไม้
สาเหตุ
เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวและบีบตัว
เพื่อขับกากอุจจาระออกจากร่างกายได้ช้าลง
อุจจาระที่ค้างในลำไส้นานจะถูกดูดซึมน้ำออกไปมากจน --> กลายเป็นก้อนแข็ง
มดลูกมีขนาดโตขึ้น ไปกดหรือเบียดลำไส
ทำให้กากอาหารผ่านได้ยากขึ้น
คุณแม่กินผัก ผลไม้ หรืออาหารที่มีกากใยน้อย หรือ ดื่มน้ำน้อย
ผลของยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
หากกินแล้วท้องผูก อุจจาระแข็ง
ต้องแจ้งแพทย์ ห้ามหยุดกินยาเองเป็นอันขาด
ไม่ออกกำลังกาย
การป้องกันและบรรเทาอาการ
กินอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ และดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
ไม่ซื้อยาระบายมากินเอง
หากท้องผูกบ่อยควรปรึกษาคุณหมอ
อุจจาระทันทีที่รู้สึกปวด ไม่กลั้นอุจจาระ
ฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา
ถ้าหากตอนเช้าไม่รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ ควรดื่มน้ำอุ่น
นมอุ่นๆ น้ำส้ม น้ำมะเขือเทศ หรือน้ำมะนาว
จะช่วยให้รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ
ออกกำลังกายทุกวัน เช่น เดิน ว่ายน้ำ
ออกกำลังเบาๆ 20-30 นาทีต่อวัน
ฝึกบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้อง อุ้งเชิงกราน และทวารหนัก
โดย
หายใจเข้าหน้าท้องป่อง
หายใจออกหน้าท้องแฟบ
ฝึกขมิบก้นแล้วคลายบ่อยๆ
น้ำลายออกมาก หรือ น้ำลายสอ
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่นอน
อาจเกิดจากกินอาหารประเภทแป้งมากเกินไป
จึงกระตุ้นต่อมน้ำลายให้ทำงานมากขึ้น
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ทำให้ผะอืดผะอม ไม่อยากกินอาหาร
การป้องกันและ
บรรเทาอาการ
ไม่กินอาหารที่มีแป้งมากเกินไป
บ้วนปากบ่อยๆ และรักษาความสะอาดของปากและฟัน
3.ดื่มเครื่องดื่มอุ่นๆ
4.เคี้ยวหมากฝรั่ง
มีน้ำลายมากในปากอยู่ตลอดเวลา มักทำให้คุณแม่รู้สึกพะอืดพะอม
อาการนี้ไม่มีอันตรายใดๆ
แต่ทำให้คุณแม่รู้สึกรำคาญ
ต้องบ้วนทิ้งบ่อยๆ และมักมีกลิ่นเหม็น
การรักษา
หายเองเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 12 สัปดาห์
หรือเมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
อ้างอิง :
จันทกานต์ กาญจนเวทางค์,ธรา อั่งสกุล,ปัทมา ทองดี,แมนวัฒน์ โชคสุวัฒนสกุล. (2561).
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์สื่อสารชนิดพกพา สำหรับส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์.
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2563, จากเว็บไซต์:
http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/7648/2/fulltext.pdf
นางสาวสุธัมวรดี ใจยะ เลขที่ 140 รหัสนักศึกษา 612401143