Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานในเด็ก, อ้างอิง : วิริยาภรณ์ แสนสมรส. (2563). เอกสารประกอบการสอน…
โรคเบาหวานในเด็ก
ผลกระทบ
ความผิดปกติในกระบวนการเมตาบอลิซึม
จากภาวะที่ร่างกายขาดอินซูลินหรืออินซูลินออกฤทธิ์ไม่ได้ ทำให้กลูโคสผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ไม่ได้ ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะเสียสมดุลน้ำและอิเล็คโทรลัยท์
เมื่อเลือดผ่านหลอดไต หลอดไตจะดูดซึมน้ำตาลกลับได้ไม่หมด ทำให้มีปัสสาวะมากจนอาจเกิดภาวะขาดน้ำ และเกิด Kussmual breathing หายใจเร็วหอบเหนื่อย ทำให้สูญเสียน้ำออกมากขึ้นจาการหายใจหอบ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและภาวะ Diabetic Ketoacidosis (DKA) คือ ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงร่วมกับภาวะเลือดเป็นกรด
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง
ทำให้ต้องรักษาตลอดชีวิต อสจเกิดภาวะเครียดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ทำให้มีการหลั่งสาร Corticosteriod และ Catecholamine ที่มีฤทธิ์ต้านอินซูลิน ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ร่วมกับการเกิดภาวะ Ketoacidosis
-
การดูแลผู้ป่วย
กรณีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างรนุแรง ต้องเจาะเลือดบ่อยๆ อย่างน้อยวันละ 3-4 ครั้ง เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือด การอธิบายถึงเหตุผลและความสำคัญของการเจาะเลือดตรวจ
การจัดอาหารให้แก่เด็กที่มีอินซูลินไม่สมดุล ต้องจัดให้มีระดับกลูโคสในเลือดใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด โดยรับประทานอาหารเป็นเวลา ซึ่งประกอบด้วยอาหารหลัก 3 มื้อ อาหารว่าง 2-3 มื้อ อินซูลิน 1 ยนูิตเท่ากับ
คารโ์บไฮเดรต 15 กรัม
การส่งเสริมการทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและลดพฤติกรรมหรือนิสัย ที่ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน
-
การรักษา
ควบคุมอาหาร โดยเฉพาะประเภทคาร์โบไฮเดรต แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก น้ำข้าวผสมเกลือเล็กน้อย แครกเกอร์ หรือขนมปัง ถ้าไม่สามารถกินอาหารอ่อนได้ แนะนำให้กินอาหารเหลว ที่มีคาร์โบไฮเดรตอย่างน้อย 50 กรัม ทุก 3-4 ชม.
-
ตรวจน้ำตาลในเลือดบ่อยขึ้น คือ ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ เช่น ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่หนึ่ง ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง และในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง ควรตรวจอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน (3 เวลาก่อนอาหารและก่อนนอน)
ชนิดของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (IDDM)
สาเหตุของการเกิดโรคเป็น Multifactorial ประกอบด้วย พันธุกรรม และปัจจัยสิ่งแวดล้อม ทำให้เบ้ต้าเซลล์ในตับอ่อนเสื่อม หรือถูกทำลายจนสร้างอินซูลินได้น้อยลงหรือไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (NIDDM)
สาเหตุการเกิดโรคเนื่องมาจากร่างกายมีภาวะต้านอินซูลิน ร่วมกับความผิดปกติของการหลั่งอินซูลิน จึงพบภาวะอินซูลินในเลือดสูง แค่ไม่สามารถนำไปใช้งานได้
-
อินซูลิน
หน้าที่
-
-
มีฤทธิ์ต่อคาร์โบไฮเดรต,โปรตีน และไขมัน
กลุ่มอาการที่น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากขาดอินซูลินหรืออินซูลินออกฤทธิ์ไม่ได้ ทำให้มีความผิดปกติของเมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
อ้างอิง : วิริยาภรณ์ แสนสมรส. (2563). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี.
Praram 9 Hospital. (2563). ภาวะฉุกเฉิน DKA (Diabetic ketoacidosis) เป็นภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่พบได้ในผู้ป่วยเบาหวาน[อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2563. จากเว็บไซต์ praram9.com/articles/dka-diabetic-ketoacidosis/
-