Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่พบบ่อย : ระบบทางเดินอาหาร และอวัยวะร่วมในช่องท้อง 163697,…
กลุ่มอาการที่พบบ่อย :
ระบบทางเดินอาหาร
และอวัยวะร่วมในช่องท้อง
กลุ่มอาการดิสเป็นเซีย (Dyspepsia)
:!!:
อาการปวด หรือไม่สบาย (discomfort) ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือ epigastrium โดยทั่วไปอาการไม่รุนแรงแต่ก่อให้เกิด
ความไม่สบายสัมพันธ์กับการกินอาหาร
การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค
Functionaln dyspepsia เป็นสาเหตุที่พบบ่อย ให้ผลวินิจฉัยได้เมื่อส่องกล้อง ร่วมกับ ROME IV ทั้ง 2 ข้อ
มีอาการอย่างน้อย 1 อาการ
อาการจุกแน่นหลังมื้ออาหาร
อิ่มเร็วกว่าปกติ
ปวดบริเวณลิ้นปี่
แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่
ไม่พบหลักฐานที่บ่งถึงโรคทาง โครงสร้าง(Structural disease)
Helicobacter pylori-associated dyspepsia
แผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer :GU หรือแผลที่ Duodenal ulcer: DU)
มะเร็งอาหาร (Gastric cancer)
อื่นๆ เช่น โรคตับอ่อน ,ยา
ทั้งนี้ต้องมีอาการนาน6เดือน - วินิจฉัยนาน3เดือน
Postprandrialdistress syndrome
:จุกแน่น อิ่มเร็ว อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
Epigastric piansyndrome
: ปวดแสบร้อน อย่างน้อย 1 ครั้ง/สัปดาห์
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก (Chest Pain)
:!!:
:warning:
อาการแสดงที่บ่งบอกภาวะวิกฤติ
อาการเจ็บหน้าอกแน่นๆ หนักๆ หรือเหมือนถูกกดทับ ร่วมกับเจ็บร้าวไปคอกราม ไหล่ แขนหรือหลัง
เจ็บหน้าอกร่วมกับอาการจุกแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย หรือคลื่นไส้อาเจียน
เหนื่อยหอบ
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง วิงเวียนหรือเป็นลมหมดสติ
:red_flag:
ร่วมกับระบบที่เกี่ยวข้อง
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบหัวใจและ หลอดเลือด
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบหายใจ
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบทางเดินอาหาร
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบกระดูกและ กล้ามเนื้อ
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคทางระบบผิวหนัง
:red_flag:
จากโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Myocardial ischemia /infarction
มีอาการเจ็บแน่นอกบริเวณกลางหน้าอกหรือ ค่อน ไปทางซ้าย ลักษณะคล้ายถูกบีบรัดหรือมีอะไรมาทับ(Squeezing, heaviness, pressure)
อาการแน่นหน้าอกเป็น มากขึ้นขณะออกแรง
การบอกลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
Typical angina
Non-angina chest pain
Atypical angina
อาการเจ็บแน่นหน้าอกลดลงเมื่อหยุดพักหรือได้รับ nitroglycerin
Aortic dissection
เกิดขึ้นเฉียบพลันและมี อันตรายชีวิต อาการเจ็บหน้าอกทันทีและ รุนแรงเจ็บเหมือนถูกแทง หรือมีการฉีกขาดในทรวงอก
Pericarditis
อาจเป็นอาการเฉียบพลันหรือ เรื้อรัง มีลักษณะเจ็บแปล๊บๆ คล้ายถูก เข็มทิ่มเหมือนเจ็บจากเยื่อหุ้ม ปอดอักเสบ
โรคหัวใจอื่นๆ
Mitral valve prolapes
Aortic stenosis
Hypotrophic cardiomypathy
:red_flag:
จากโรคทางระบบการหายใจ
Acute pulmonary embolism
อาการเจ็บเกิดจากการตายของเนื้อเยื่อปอดกับเยื่อหุ้มปอด
อาการเจ็บหน้าอกแบบเจ็บแปล๊บๆ และอาการมากขึ้น เมื่อไอหรือหายใจเข้าลึก pleuritic chest pain หอบเหนื่อย ไอเป็นเลือด
ตรวจร่างกาย
tachypnea ,Tachycardia ,Jugular venous distension
loud P2
right-sided cardiac enlargement
Pneumothorax
มีอาการ pleuritic chest pain ร่วมกับหอบเหนื่อย เกิดการรอยโรคที่มีเยื่อหุ้มปอดฉีกขาด
ตรวจร่างกายพบ
decreased breath sound
hyperresonance on percussion บริเวณ ทรวงอกข้างที่มีรอยโรค
tracheal deviation ไปยังด้านตรงข้ามกับทรวงอกข้าง ที่มีรอยโรค
tension pneumothorax มีอาการความดันโลหิตต่ำ
Pneumonia/pneumonitis
ไข้ ไอ มีเสมหะ หอบเหนื่อย ร่วมกับเจ็บ หน้าอก แบบ pleuritic chest pain
ตรวจร่างกาย
Consolidation
อาจพบ pleural effusion
Egophony
Wheezing
Crepitation
:red_flag:
จากระบบทางเดินอาหาร
ส่วนบน
Esophageal spasm อาการเจ็บคล้ายถูก บีบรัด
GERD
Cholecystitis
Pancreatitis
Gallstone
Peptic ulcer
:red_flag:
จากระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
อาการเจ็บหน้าอกเป็นแบบเจ็บตึง หรือเจ็บแปล๊บ Costochondritis เรียก Tietzesyndrome มีการอักเสบ บวม แดง ร้อน กดเจ็บกระดูกอ่อน
:red_flag:
จากโรคของชั้นผิวหนัง
โรคงูสวัด (herpes zoster)
ผิวหนังอักเสบ ปวดแสบ ร้อน
โรคเต้านมอักเสบ
:star:
การวินิจฉัยแยกโรค
เจ็บหน้าอก
เ
จ็บหน้าอกแบบบีบรัด แน่นจุกกลางอก/หน้าอกซ้าย ร้าวไปที่ไหล่ซ้าย
เจ็บไม่เกิน 15 นาที
มักมีอาการตอนทำกิจกรรม หายใจไม่อิ่มไม่โล่ง หัวใจเต้นเร็ว ซีด อ่อนเพลีย
Ischemic heart disease /Angina pectiris
เจ็บหน้าอกทันทีทันใด ร้าวไปที่ไหล่ซ้าย มักเจ็บมากกว่า 30 นาที EKG Abnormal (ST- Segment elevation/Depression)
Myocardial infarction
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรไม่สม่ำเสมอ นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) ผิวหนังเย็นและชื้น กระสับกระส่าย สับสน หายใจเหนื่อย BP ต่ำ เท้าบวม ตับ ม้ามโต มี Neck vein engorged
Congestive heart failure
ใจสั่น + ปวดศีรษะ
ใจสั่น ใจหวิวๆ ใจวูบ หัวใจเต้นแรง หน้ามืด วิงเวียน
Congestive heart failure
กลุ่มอาการปัสสาวะผิดปกติ (Abnormal Urination)
:!!:
:red_flag:
ปัสสาวะบ่อย (Frequent urination)
อาการ
ปัสสาวะบ่อยร่วมกับปริมาณปัสสาวะปกติ มีลักษณะ กะปริบกะปอย
ปัสสาวะร่วมกับปริมาณปัสสาวะมากกว่า ปกติ โดยเฉพาะเกิน 3 ลิตร/วันหรือ Polyuria พบใน DM ดื่มน้ำมาก เป็นต้น
:red_flag:
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ( Urinary Incontinence,UI)
ประเภท
Acute/transient urinary incontinence
สาเหตุ
Cystitis
Delirium
Atrophic Urinary incontinence
ยา เช่นยาขับปัสสาวะ
Polyuria
Chronic/established urinary incontinence
สาเหตุ
Stress Incontinence
Urge Incontinence และ Overactive bladder
Mixed urinary incontinence
Reflex Incontinence
Overflow Incontinence และ urinary retention
Eetraurethral Incontinence
Functional incontinence
:red_flag:
ปัสสาวะลำบาก (Dysuria)
ประเภท
Non-infalammatory processes
สาเหตุ
โรคต่อมไร้ท่อเนื้องอก
ยา
ความผิดปกติของอวัยวะ
อุบัติเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ interstitis cystitis
Inflammation
สาเเหตุ
โรคหรือภาวะที่มีการอักเสบ
โรคติดเชื้อ
Non – infectious diseases
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่งตรวจเฉพาะ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
:checkered_flag:
แผนการรักษา
การรักษาตามอาการ/อาการเฉพาะ