Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1.2.หลักการทฤษฎีปัจจัยที่มีผลกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึง…
1.2.หลักการทฤษฎีปัจจัยที่มีผลกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึงวัยรุ่น
แนวคิดในการดูแลสุขภาพเด็ก
แนวคิดสุขภาพแบบองค์รวม
ปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
มีการเจริญเติบโตตามวัย
ความสำคัญพัฒนาการชีวิตของเด็ก
เพื่อลดปัญหาเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ
เพื่อให้การเลี้ยงดูเด็กได้เหมาะสมกับความต้องการ
เพื่อติดตามเฝ้าระวังการเจริญเติบโต
การแบ่งวัย
วัยเตาะแตะ 1-3 ปี
วัยก่อนเรียน 3-6ปี
วัยทารก 28-1ปี
วัยเรียน 6-12 ปี
วัยทารกแรกเกิด แรกเกิด-28 วัน
วัยรุ่น 12-21 ปี
การเจริญเติบโต
ความหมาย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยการเพิ่มขนาดและรูปร่าง
การเปลี่ยนแปลงที่มีทิศทางและดำเนินไปอยู่ตลอดเวลา
หลักการเจริญเติบโต
ไวต่อการกระตุ้น(Sensitive periods)
ทักษะใหม่เด่นกว่าพัฒนาการเก่า(New skill trend to predominate
มีลำดับที่แน่นอน(Sequential trends)
มีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล (Individual differences)
มีทิศทางเดียวกัน(Directional trends
มีการเจริญเติบโต พัฒนาการมีระยะวิกฤต (Critical period)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมขณะเกิด
ฮอร์โมน
สิ่งแวดล้อมในครรภ์
โรคของเด็ก
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ลักษณะรูปร่าง
หน้าตา
เพศ
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ภาวะโภชนาการ
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
การเล่น
พัฒนาการของเด็ก
ด้านร่างกาย
อวัยวะและระบบต่างๆ
น้ำหนักและส่วนสูง
รูปร่างและสัดส่วน
ด้านสมองและสติปัญญา
เกิดจากพันธุกรรม และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
สติปัญญา ทักษะความสามารถ
ทฤษฎีทางความคิดและสติปัญญาของเพียร์เจต์
อารมณ์และสังคม
เด็กจะมีปฎิสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด
ปฎิสัมพันธ์จะหล่อหลอมบุคคลิกภาพของบุคคล
ด้านภาษา
ต้องการการกระตุ้นส่งเสริม
ส่งเสริมให้เด็กได้ฟังเสียงต่างๆและพูดกับเด็ก
ด้านจริยธรรม
สอดแทรกหลักของความยุติธรรม
ความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยความจริงใจ
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก
เพียเจต์ Piajet
Preoperational phase : ระยะกอ่นปฏบิัติการ
Preconceptual: ขั้นก่อนความคดิรวบยอด -อายุ 2 –4 ปี -ใช้สัญลักษณ์ในการสื่อภาษา -ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
Intruitive: ขั้นนึกรู้ได้เอง -อายุ 4 –7 ปี -มองภาพสิ่งต่างๆในด้านเดียว -ไม่เข้าใจการคงสภาพของสิ่งของ
ระยะประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensorimotor phase)
Secondary circular reaction: ขั้นปฏิกิริยาตอบสนองซ้ำๆระยะท ี่2 -อายุ 4-8 เดือน -ทำพฤติกรรมที่พึงพอใจ
Primary circular reaction : ขั้นปฏิกิริยาตอบสนองซ้ำๆระยะแรก - อายุ 1 –4 เดือน - ใช้การประสานงานของกล้ามเนื้อ
Exercising sensorimoterreflexes: ขั้นฝึกฝนพฤติกรรมปฏิกริิยาสะท้อน - อายุ 0-1 เดือน - ปฏิกิริยาสะท้อนรปูแบบเดิม
Coordination of sensory schemata: ขั้นประสานระบบพฤติกรรม เกี่ยวกับประสาทสัมผัส -อายุ 8-12 เดือน -มีความประณีตมากขึ้น
ฟรอยด์Freud
พัฒนาการทางอารมณ์ และสังคม
ขั้นที่ 2 ขั้นทวารหนัก (Anal stage)
ขั้นที่ 3ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic or Oedipalstage)
ขั้นที่ 1 ขั้นปาก(Oral stage)
ขั้นที่ 4 ขั้นแฝง (Latency stage)
ขั้นที่ 5 ขั้นวัยรุ่นหรือขั้นอวัยวะเพศ (Genital stage)
อิริคสันErikson
ทฤษฏีจิตสังคม
ขั้นที่ 4 การรู้สึกว่าตนประสบความสำเร็จ หรือ รู้สึกด้อย (Sense of Industry vs. Sense of Inferiority) (อายุ 6-12 ปี)
ขั้นที่ 5 การรู้เอกลักษณ์ตนเองหรือการสับสนในเอกลักษณ์ต์นเอง(Sense of Identity vs. Sense of IdentityDiffusion) (อายุ 12-17 ปี)
ขั้นที่ 3 การเป็นพัฒนาความคิดริเริ่ม หรือ ความรู้สึกผิด (Sense of Initialtivevs. Sense of Guilt) (อายุ 3-5 ปี)
ขั้นที่ 6 ความรู้สึกว่าตนมีเพื่อนหรือมีความรู้สึกอ้างว้าง (Intimacy vs. Isolation) (อายุ 18-30 ปี)
ขั้นที่ 2 ความรู้สึกเชื่อมั่นในตน หรือสงสัยไม่แน่ใจในความสามารถของตน (Sense of Autonomy vs. Sense of Doubt and Shame) (อายุ 23 ปี)
ขั้นที่ 7 ความรู้สึกรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ห่รือความรู้สึกเฉื่อยชา (Generativityvs. Stagnation) (อายุ 30-40 ปี)
ขั้นที่ 1 ความรู้สึกไว้วางใจหรือรู้สีกไม่ไว้วางใจ (Sense of Trust vs. Sense of Mistrust) (อายุ 0-2 ปี)
ขั้นที่ 8 ความรู้สึกมั่นคง และ หมดหวัง(Ego Integrity vs. Despair) (อายุ 60 ปีขึ้นไป)
โคลเบิร์กKohlberg
ระดับตามกฎเกณฑ์
ขั้นที่ 4 เด็กจะมองความถูกผิดที่ความสารถของเขา
ขั้นที่ 3 เด็กจะพยายามทำตามกฎเกณฑ์
ระดับก่อนเกณฑ์
ขั้นที่ 1 ยอมทำตามสิ่งที่สังคมกำหนดว่าดี
ขั้นที่ 2 เด็กจะมองถูกผิดอยู่ที่ความสามารถ
ระดับเหนือกฎเกณฑ์
ขั้นที่ 6 สร้างคุณธรรมประจำใจ
ขั้นที่ 5 มีหลักศีลธรรมประจำใจ