Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การวิจัยทางการพยาบาล, ., . - Coggle Diagram
บทที่ 4 การวิจัยทางการพยาบาล
การกำหนดตัวแปร
ตัวแปร ( Variable ) คือ สิ่งที่จะศึกษาค้นคว้าตามปัญหาของการวิจัย หัวข้อวิจัยหัวข้อเดียวจะมีตัวแปรได้หลายตัว ขึ้นอยู่กับประเด็นปัญหาในงานวิจัยเรื่องนั้นๆ
ลักษณะของตัวแปร
ตัวแปรรูปธรรม (Concept) คือ ลักษณะที่คนทั่วไปรับรู้ได้ตรงกันหรือสอดคล้องกัน เช่น เพศอายุ ความสูง
ตัวแปรนามธรรม (Construct) คือลักษณะเฉพาะตัวบุคคล คนทั่วไปอาจรับรู้ได้ตรงกันหรือไม่ตรงกันก็ได้ เช่น ความวิตกกังวล ความเกรงใจ ทัศนคติ ความเป็นผู้นา แรงจูงใจ เป็นต้น
ชนิดของตัวแปร (Types of Variables)
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable)
เป็นตัวแปรที่เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดผล เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนด
ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลมากจากการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรอิสระ
ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน (Extraneous variables) เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษา มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ ตัวแปรแทรกซ้อนจะส่งผลรบกวน ตัวแปรอิสระที่ศึกษา สามารถควบคุมได้
ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable) เป็นตัวแปรตามคล้ายๆ ตัวแปรแทรกซ้อน แต่มีลักษณะต่างกันตรงที่ว่าตัวแปรชนิดนี้ ผู้วิจัยไม่สามารถคาดการณ์ได้ และควบคุมได้
ระดับของการวัดตัวแปร
(level of measurement)
มาตรานามบัญญัติ (Norminal Scale) เป็นการวัดเพื่อจัดกลุ่มหรือการแยกประเภทอาจเป็นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ ไม่สามารถบอกถึงปริมาณความมากน้อยที่แตกต่างได้
มาตราอันดับ (Ordinal Scale) บอกถึงลาดับของข้อมูลหรือตัวแปรได้ว่ามากหรือน้อยกว่ากัน ม่สามารถบอกถึงปริมาณความแตกต่างได้
มาตราอันตรภาค (Interval Scale) บอกถึงปริมาณความแตกต่างได้ ตัวเลขในระดับนี้จึงสามารถบวกลบกันได้ แต่ไม่สามารถคูณ หาร กันได้เนื่องจากในระดับนี้ไม่มีจุดศูนย์แท้
มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็นการวัดที่สมบูรณ์ที่สุด บอกปริมาณความแตกต่างได้ บอกถึงอัตราส่วนของความแตกต่าง มีศูนย์แท้
การนิยามตัวแปร
การนิยามเชิงทฤษฎี (Conceptual definition) เป็นการอธิบาย กว้างๆ ตามทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือตามพจนานุกรม
การนิยามลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition) เป็นการอธิบายว่าตัวแปร หมายถึงอะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้างและวัดได้ ประกอบด้วย องค์ประกอบตัวแปร, พฤติกรรมที่แสดงออก, เกณฑ์ชี้บ่งว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมา
การกำหนดสมมุติฐานการวิจัย (hypothesis)
ประเภทของสมมติฐานการวิจัย
2.สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis)
การกาหนดสมมุติฐานทางสถิติ
สมมุติฐานหลัก (null hypothesis) : H o
ลักษณะการเขียนสมมุติฐานหลัก หรือสมมุติฐานกลาง ไม่แตกต่าง ไม่มีความสัมพันธ์ มีความหมายตรงข้ามกับสมมุติฐานทางเลือก
สมมุติฐานทางเลือก (alternative hypothesis) H 1 หรือ H a
แทนด้วยสัญลักษณ์ H 1 หรือ Ha เป็นสมมติฐานทางสถิติที่เขียนอธิบายถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร การเขียนจะกาหนดให้สอดคล้องกับสมมติฐาน
การวิจัยและมีความหมายตรงข้ามกับสมมุติฐานหลัก
การทดสอบสมมุติฐาน (Hypothesis Testing)
เป็นวิธีการตรวจสอบสมมุติฐานการวิจัย (Research Hypothesis)
ใช้ค่าสถิติที่คานวณได้จากกลุ่มตัวอย่างไปตรวจสอบสมมุติฐานทางสถิติ (Statistic Hypothesis) ที่ตั้งขึ้นตามสมมุติฐานการวิจัย
ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน
ตั้ง สมมุติฐานทางสถิติ ให้สอดคล้องกับสมมุติฐานการวิจัย
กำหนดระดับนัยสำคัญ
กำหนดระดับนัยสำคัญ กำหนดและคานวณค่าสถิตที่จะใช้ในการทดสอบ
ตัดสินใจ ปฏิเสธหรือยอมรับ สมมุติฐานทางสถิติ
สรุปผลจากการทดสอบ ไปสู่สมมุติฐานในการวิจัย และ ข้อสรุปของการวิจัย
แหล่งที่มาของสมมติฐานการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรม
การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ
ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ
การสังเกตพฤติกรรม
1.สมมติฐานทางวิจัย (Research hypothesis)
ประโยชน์ของสมมติฐาน
บอกขอบเขตของปัญหา
ชี้แนวทางในการวางแผนการวิจัย
นักวิจัยมีความคิดแจ่มแจ้งในเรื่องที่ท าการวิจัย
แนวทางในการลงสรุป
ความสาคัญสมมุติฐานการวิจัย
-เป็นแนวทางในการกากับการวิจัย ให้มีความชัดเจน ไม่หลงทิศทาง
-ช่วยในการออกแบบการวิจัย การวัดตัวแปร การสร้างเครื่องมือการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล
-ช่วยชี้แนวทางในการแปลผล สรุปผล
ลักษณะของสมมติฐานการวิจัย
สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ
เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2ตัวขึ้นไป
วิธีการตั้งสมมติฐาน
เริ่มจากการพิจารณา จุดมุ่งหมายของการวิจัย แล้วจึงตั้งสมมติฐานทางวิจัย
จะตั้ง แบบมีทิศทางหรือไม่มีทิศทางก็ได้
เมื่อกาหนดตั้งสมมติฐานทางวิจัยได้แล้ว จึงตั้งสมมติฐานทางสถิติ และการตั้งสมมติฐานทางสถิติ
จะต้องตั้งทั้งสมมติฐานเป็นกลาง และสมมติฐานไม่เป็นกลางควบคู่กันไป
เทคนิคการเขียนสมมติฐานทางวิจัย
1.สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)
สมมุติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Non-directional hypothesis)
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
อธิบายหรือตอบคาถามได้
ตอบคาถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้พื้นฐาน
เขียนด้วยถ้อยคาที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจน
สามารถตรวจสอบได้
มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป
มีอานาจในการพยากรณ์
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย หมายถึง การจากัดหรือกาหนดขอบเขตให้แก่การวิจัย
ความสาคัญของการเขียนขอบเขตการวิจัย
การกำหนดขอบเขตของการวิจัย จะทาให้งานวิจัยมีความชัดเจน และเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัย
ขอบเขตการวิจัยประกอบด้วย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ขอบเขตที่เกี่ยวกับเวลา
ขอบเขตที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่ศึกษา
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
.
.