Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการในชั้นเรียนแบบ Active Learning, นางสาวกชพรรณ แสนศรี เลขที่ 21 -…
การจัดการในชั้นเรียนแบบ Active Learning
Active Learning การเรียนรู้แบบลงมือทำ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ทำ และใช้การคิดขั้นสูง ด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า
พีระมิดแห่งการเรียนรู้
Passive Learning=อ่าน10% ได้ยิน20%เห็น30%ได้ยินและเห็น50%
Active Learning=พูด70%พูดและทำ 90%
การพัฒนาสมรรถนะครูในยุคดิจิตอล (การจัดการเรียนรู้เชิงรุก)
เทคนิคการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
เทคนิครายบุคคล=ผู้เรียนมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นจนจบ สามารถสรุปด้วยตนเอง
ว่าได้เรียนรู้อะไร ต่อไปจะเรียนอะไร
เทคนิคคู่/กลุ่ม= การจับคู้แลกเปลี่ยนกันสอน, การสรา้งสถานการณ์จำลอง
.
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสูงสุด หลากหลาย ฟัง พูด อ่าน เขียน คิด
เน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญ มีทักษะการคิดระดับสูง
ทำให้เกิดทักษะการคิด สังเกต รวบรวมข้อมูล การสื่อสารที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้และสนุก ได้ความรู้และความสุข
การออกแบบเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ด้วย Co-5step ผ่าน PLC
แผนการจัดการเรียนรู้แบบActive Learning
เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ 80% (CO-5STEP=การใช้ใบงาน การใช้ผังกราฟฟิก การใช้ Intrographic collaborative learning)
การออกแบบแผนการจัดการการเรียนรู้ ประกอบด้วยObjective /Learning Experience/Evaluation
การเรียนรู้ (Learning)
กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process)=Thinking Process, Affective Process,Group Process Team Co-Operation Collaboration
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)=K(ความรู้)P/S(ทักษะ/กระบวรการ)A(คุณลักษณะที่พึงประสงค์)
ทักษะ 4.0
ท้ักษะ 7C ของครู4.0
3Rs=อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
8Cs
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
PLC (Professional Learning Community)
คณะผู้บริหาร+ครู+ชุมชน
ร่วมกันพัฒนาครูด้วยการสอนแบบพี่เลี้ยง
ไม่สั่ง ไม่สอน ไม่บอก แต่ให้ Guide ลองคิด ลองทำ ทดลองเอง (Learning by Doing)
วัตถุประสงค์
.
ครูเปลี่ยนจากการเรียนรู้เชิงรับ (Passive Learning) เป็นเชิงรุก (No teacher Left Behind) บูรณาการศาสตร์พระราชา
ครูไปพัฒนาแนะแนวนร.
ผลการเรียนรู้ผ่านขั้นต่ำของตัวชี้วัด
No Child Left Behind (ลดความเหลื่อมล้ำของเด็กด้านความสามารถ)
พัฒนาเด็กไทยให้เป็นเด็กไทยหัวใจพอเพียง (4.0)
วิธีการสอนและเทคนิคหลากหลายเสริมทักษะศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนเชิงรุก=เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ/การทำงานแบบรวมพลัง/สร้างความรู้ สร้างชิ้นงาน
ทักษะ 7C ของครู 4.0 สร้างเด็กศตวรรษที่ 21
ครู
ทักษะ 7Cของครู
Curriculum constraction skills
Child-oriented management skills
Classroom innovation implementation skills
Classroom learning assessment skills
Classroom action research skill
Classroom management skills
Character development skills
ลักษณะครูไทย 4.0=• ครูที่ดีมีความพอเพียงและคุณธรรม/แม่นยำในเนื้อหา/นำเด็กค้นคว้าด้วยการสืบสอบสอนทำโครงงาน/ทำวิจัยสร้างนวัตกรรม
นักเรียน
ทักษะ 8C ของเด็กไทย
Critical Thinking and Problem Solving
Creativity and Innovation
Collaboration Teamwork and Leadership
Communication Information and Media Literacy
Cross-cultural Understanding
Computing and ICT Literacy
Career and Learning Skills
Compassion
ลักษณะเด็กไทย 4.0=• เด็กดีมีความพอเพียงและมีคุณธรรม/แม่นยำและลึกซึ้งในความรู้ด้วยการสืบสอน/ทำวิจัยสร้างนวัตกรรมด้วยการทำโครงงาน/ชำนาญการใช้ ICT
การเรียนรู้ (Learning)
กระบวนการเรียนรู้=• Thinking Process/Affective Process/Group Process Team Co-Operation Collaboration
ผลการเรียนรู้=KPA
.การเรียนรู้บนฐานวิธีการทางวิทยาศาสตร์ IPA based learning
(การสืบสอบ/การทำโครงงาน/การทำกิจกรรมการเรียนรู้
)
รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5E learning cycle model)= engagement/exploration/xplanation/elaboration/evaluation
เทคนิคการสอน (teaching techniques)=ารใช้คำถาม/การเรียนแบบร่วมมือ/พหุปัญญา/การใช้ผังกราฟฟิก
นางสาวกชพรรณ แสนศรี เลขที่ 21