Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - Coggle Diagram
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
วิธีการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ด้านความเข้าใจและการใช้ภาษา
ด้านการช่วยเหลือตนเอง-สังคม
ด้านประสาทสัมผัส
ด้านการเคลื่อนไหวแขนขาและข้อต่อ
แนวคิดในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
สติปัญญา ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรม แต่ถ้าขาดการกระตุ้นจาก
พันธุกรรม เป็นตัวก าหนดศักยภาพของร่างกายและสติปัญญา
สิ่งแวดล้อม เป็นตัวพัฒนาเสริมแต่งหรือบั่นทอนศักยภาพที่ได้มา
สิ่งแวดล้อม อาหาร สภาพอารมณ์ สุขภาพทางกายและจิตของมารดาในระหว่างตั้งครรภ์
ขั้นตอนของการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
การประเมินพัฒนาการ
การวเิคราะห์ปัญหา
วางแผนการจัดโปรแกรมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
หลกัการเสริมแรง
กำหนดเงื่อนไขว่าจะให้แรงเสริมชนิดใดกับพฤติกรรมอะไร
ให้เสริมแรง สม่ำเสมอ ทันทีเมื่อต้องการสร้าง หรือเพิ่ม พฤติกรรม เช่น เมื่อเด็กท าถูกต้อง ให้ชมทุกครั้ง
ให้ปริมาณการเสริมแรงที่พอเหมาะ เพื่อไม่ให้ตัวเสริมแรง หมดสภาพ
เลือกตัวเสริมแรงที่เหมาะสมกับความตอ้งการของเด็กและ มีความหลากหลาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ตัวเด็ก
ผู้ดูแลเด็ก
จ านวนครั้งที่ได้รับการกระตุ้น
ระยะเวลาในการกระตุ้น
สภาพแวดล้อม
ส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
การกระตุ้นทารก
การกระตุ้นประสาทสัมผัสทางกายของทารก
การกระตุน้ประสาทการมองเห็นของทารก
การกระตุ้นประสาทการได้ยิน
การกระตุ้นประสาทการได้กลิ่น
การกระตุ้นประสาทการรับรส
การกระตุ้นการเคลื่อนไหวแขนขาและข้อต่อ
การนวดสัมผัสทารก
นวดบริเวณศีรษะ และหน้า
นวดบริเวณศีรษะ และหน้า
นวดอก
นวดแขน
นวดท้อง
นวดขา
นวดหลัง
หลกัการลงโทษ
ก่อนจะใช้วิธีลงโทษ ควรประเมินว่าอาการไม่พึงประสงค์มี ผลต่อการกระท าชนิดใด และอยู่ในสถานการณ์ใด
ถ้าประเมินแล้วว่าอาการไม่พึงประสงค์ ควรได้รับการ ลงโทษ ควรเลือกใช้เทคนิคที่มีความรุนแรงน้อยที่สุด
ควรใช้การลงโทษควบคู่กับการเสริมแรงพฤติกรรมที่ เหมาะสม จะช่วยให้การลงโทษมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การลงโทษ ต้องให้ทันทีและทุกครั้งที่มีพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสม
การกระตุ้นประสาทการมองเห็นของทารก
การกระตุ้นประสาทการได้ยิน
เทคนิคการปรับพฤติกรรม
เทคนิคการปรับพฤติกรรมในเด็ก
เพิ่มพฤติกรรม (Increasing behavior)
เป็นการช่วยให้พฤติกรรมที่เด็กมีอยู่แล้วแต่ยังมีน้อยมากให้ ความถี่ของพฤติกรรมสูงขึ้น
สร้างพฤติกรรม (Teaching behavior)
เป็นการสอนให้ เด็กทำพฤติกรรมที่ไม่เคยทำมาก่อน หรือทำได้แต่ไม่ สมบูรณ์ ให้ทำพฤติกรรมนั้นได้อย่างสมบูรณ์
ลดพฤติกรรม (Reducing or Eliminating behavior)
เป็นการลดหรือขจัดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ลดพฤติกรรมก้าวร้าว รังแกผู้อื่น เทคนิคที่ใช้
การกระตุ้นประสาทการได้กลิ่น
บิดามารดา หรือ ผู้ดูแล ควรมีลักษณะ ดังนี้
ต้องกระทำด้วยความสม่ำเสมอ ข้อห้ามใดๆต้องนำมา ปฏิบัติเป็นประจำ ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับอารมณ์ของผู้ใหญ่
ต้องปฏิบัติด้วยท่าทีที่หนักแน่น จริงจัง และเด็ดขาด
ปฎิบัติต่อเด็กโดยใช้การกระทำมากกว่าคำพูด
ชมเชยพฤติกรรมที่ดีมากกว่าจัดการพฤติกรรมไม่ดี
ไม่ควรขัดแย้งกันต่อหน้าเด็ก ต้องมีความเห็นตรงกันใน การใช้เทคนิคนั้นๆ