Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน,…
บทที่ 13
ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน
ความหมายของการบริหารจัดการ ( Management)
รูปแบบของกระบวนการทำงานอันเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนจำนวนมาก
เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งอันเป็นความรู้ที่ทำให้ภารกิจบรรลุสำเร็จด้วยดี
ขอบเขตของการบริหารจัดการในห้องเรียน
เป็นกิจกรรมหลักของครูในการอสดงภาวะผู้นำ
การบริหารจัดการในชั้นเรียนที่ดีเริ่มต้นตั้งแต่วันแรกของโรงเรียน
การบริหารจัดการในชั้นเรียนไม่สามารถแยกจาก
รูปแบบการสอน
การเขียนแผนจัดการเรียนรู้
การลงโทษ
การพัฒนากิจกรรมในห้องเรียน
การจูงใจผู้เรียน
มุมมองสำคัญ
การบริหารจัดการห้องเรียนกับครูใหม่
การบริหารจัดการห้องเรียนกับการจัดการเรียนการสอน
มโนทัศน์ของการบริหารจัดการในชั้นเรียน
ผู้เรียนเกเร (Disruptive student) ครูควรทำ
สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
ส่งเสริมในรักเรียน มีวินัยในตนเอง เข้าใจตนเอง ประเมิน และควบคุมตนเอง
เชื่อมั่นว่าผู้เรียนทุกคนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
จัดห้องเรียนในเคลื่อนไหวตลอดเวลา ให้สัมพันธ์กับความรู้สึก
บ่มเพาะผู้เรียนให้เกี่ยวข้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมห้องเรียน
รูปแบบและการเสริมแรงมีคุณค่าต่อการให้ความเคารพ
ความรู้พื้นฐาน
ควรจัดให้มีข้อแนะนำเกี่ยวกับหลักการการสอนต่างๆ รวมถึงสร้างบรรยากาศเพื่อการเรียนรู้ที่ไม่ปล่อยให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม
ความเข้าใจในการบริหารจัดการห้องเรียน
ครูต้องคุ้นเคยกับการจัดลำดับองค์ประกอบต่างๆที่สัมพันธ์กับโรงเรียน
การวางแผน (Planning)
มุมมองเตรียมการด้านสติปัญญาที่วางไว้ล่วงหน้า
เช่น ประวัติย่อโรงเรียน
เช่น วัฒนธรรมโรงเรียน
เช่น แผนการสอน
การบริหารจัดการด้านการสนับสนุน (Supportive management)
มุงมององค์ประกอบด้านกายภาพและจิตภาพ
การสร้างการยอมรับในพฤติกรรมและปรัชญาส่วนตนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครู
เจคติของครู
การสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้เรียนและเพื่อร่วมงาน
การบริหารจัดการด้านพฤติกรรม (Behavior management)
มุมมองเกี่ยวกับการบริหารจัดการพฤติกรรมทำลายความสงบและปฏิบัติตามวิถีของโรงเรียน
พฤติกรรม
การเสียงรบกวน/เสียงดัง
การสร้างความรุนแรง
ไม่ทำตามกฎ
ความพยายามในการทำให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
การมีวินัยในตนเอง
การบริหารจัดการด้านการป้องกัน (Preventive management)
การบริหารจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่21
การเตรียมครูเพื่อสอน
ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างทางสังคมในยุคสังคมสารสนเทศ
พ่อแม่มองหาสถาบันที่จะช่วยให้เด็กอยู่ในยุคสังคมสารสนเทศอย่างมีความสุข
ประเทศไทยอยู่ในช่วงปฏิรูปการศึกษา
หลักสูตรทุกระดับเปลี่ยนแปลง
แผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสะท้องการพัฒนาการศึกษาชาติ
ต้องคำนึงถึงศักยภาพและทักษะการสอน
ครูต้องได้รับการฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ครูต้องเปลี่ยนพฤติกรรมจากการรับความรู้มาเป็นการเรียนรู้ทักษะกระบวนการ
บทบาทของครูในฐานะนักบริหารจัดการที่มีภารกิจในห้องเรียน
ตามแนวคิดของ Henry Minitzberg,1950
บทบาทด้านข้อมูล
บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล
บทบาทการให้ข้อมูล
บทบาทการรวบรวมข้อมูล
บทบาทด้านการตัดสินใจ
บทบาทนักแก้ปัญหา
บทบาทเป็นนักแบ่งสสรรทรัพยากร
บทบาทการเป็นผู้เริ่มคิดกิจการ
บทบาทเป็นนักเจรจาข้อขัดแย้ง
บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน
บทบาทเป็นเป็นผู้นำ
บทบาทเป็นคนกลาง
บทบาทเป็นพระอันดับ
นางสาวรอฮานา จารู เลขที่7 รหัสนักศึกษา 6120160443