Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ซิฟิลิส (Syphilis), นางสาววิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปีที่ 3 - Coggle…
ซิฟิลิส (Syphilis)
-
การแบ่งระยะของโรค
1.Early infection stage ระยะนี้จะวินิจฉัยได้ภายใน 1 ปีหลังรับเชื้อ (CDC) ภายใน 2 ปี (WHO) แบ่งเป็น - primary - secondary - early latent
2.Late Noninfection stage ะยะนี้จะวินิจฉัยได้ภายใน 1 ปีหลังรับเชื้อ (CDC) วินิจฉัยได้ภายหลัง 2 ปี (WHO) แบ่งเป็น - late latent - Tertiary - cardiovascular - Neurosyphillis
Early infection stage
1.Primary syphilis จะมีแผลเดี่ยว ลักษณะขอบแข็ง กดไม่เจ็บเรียก Hard chancre เป็นอยู่ 2 - 4 สัปดาห์ แล้วหายไป มักพบต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบโตแต่กดไม่เจ็บ
2.Secondary syphilis เกิดหลังจากที่ 1 ประมาณ 1 - 6 เดือน มีผื่นตามผิวหนัง มีก้อนที่อวัยวะสืบพันธุ์ มีผื่นแบนคล้ายหูดเชื่อมต่อกันจำนวนมาก เรียกว่า condylomalata ร่วมกับมีอาการไข้ต่ำ เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง ผมและคิ้วร่วง ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว
-
4.Tertiary syphilis ซิฟิลสิระยะที่ 3 เชื้อกระจายไปตามระบบต่างๆของร่างกาย เช่นผิวหนัง กระดูก ระบบประสาท หัวใจและหลอดเลือด ต่อมน้ำเหลือง เกิดรอยโรคเฉพาะที่เรียกว่า gumma lesion ที่อวัยวะภายในและกระดูก
-
-
-
ผลของ syphilis ต่อทารก
-
-
-
• ทารกเป็นซิฟิลสิแต่กำเนิด มีอาการตับม้ามโต ผิวหนังที่ฝ่ามือเท้าลอก เป็นมัน ตาอักเสบ จมูกบี้ กระดูกผิดปกติ อาจพบภาวะ Hydropfetalis
การวินิจฉัย
-
-
• ตรวจ serology โดยเจาะเลือดตรวจเมื่อมาฝากครรภ์คร้ังแรกและ อีก 1 ครั้งเมื่ออายุ ครรภ์ 28 - 32 สัปดาห์
-
ยืนยันด้วย FTA-ABS ( Fluorescent Treponemal Antibody Absorbtion test ) หรือ TPHA ( Treponemal Pallidum Hemagglutination Assay )
การรักษา
-
-
เฝ้าระวังภาวะ Jarisch-Herxheimer reaction ซึ่งเกิดจากการที่ความเป็นพิษ (Toxins) เป็นจำนวนมากเกิดขึ้นภายหลังเชื้อแบคทีเรียถูกฆ่าด้วยยาปฏิชีวนะ อาการคล้ายไข้หวัด เช่น เป็นไข้ ปวดศีรษะ ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งอาการจะคงอยู่ เพียง 24 ชั่วโมงเท่านั้น และจะหายไปเองโดยไม่ก่อปัญหาร้ายแรง อาการดังกล่าวสามารถรักษาได้ด้วยการให้ยาพาราเซตามอล
การติดตามผู้ป่วย
ระยะตั้งครรภ์ • คัดกรองโรคและติดตามผลการตรวจ • ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และคู่สมรส เช่น การใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์ • ถ้าสตรีตั้งครรภ์มีการติดเชื้อ แนะนำให้พาสามีมาตรวจเลือดและรักษาพร้อมกัน งดการมีเพศสัมพันธ์ในขณะที่รักษา • แนะนำ การรับประทานยาปฏิชีวนะและสังเกตอาการข้างเคียง • ให้คำปรึกษาและดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด ดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ประเมินสภาพ ทารกแรกเกิด เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อประเมินการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด • มารดา สามารถให้นมบุตรได ้ เน้นเรื่องการทำ ความสะอาด หัวนม เต้านม การทำความสะอาดมือก่อน-หลังสัมผัสทารก แยกของใช้มารดา-ทารก และติดตามประเมินผลการรักษา • ทารก สังเกตอาการที่แสดงว่าทารกเป็นโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด และดูแลรักษาตามอาการ เช่นมีการอักเสบของเยื่อบุจมูก พบ ผื่นหรือตุ่มน้ำใสบนผิวหนัง ติดตามผลตรวจทางผ้องปฏิบัติการ การได้รับยาปฏิชีวนะ และแยกทารกจาก ทารกอื่น
-