Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์, นายวิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปีที่ 3 -…
โรคเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์
ประเภท
Overt diabetes mellitus/pre-gestational
diabetes mellitus (เป็นเบาหวานมาก่อนการตั้งครรภ์)
ผลของ pre-GDM ต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร
Hypertension
Hypoglycemia
เลือดเป็นกรดจากสาร ketone (Diabetic ketoacidosis)
การคลอดก่อนกำหนด
การตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อจากการเปลี่ยนแปลงค่ากรด ด่างในช่องคลอด และมีนํ้าตาลในปัสสาวะทำให้เกิด ภาวะช่องคลอดอักเสบ ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ กรวยไต
Gestational diabetes mellitus GDM
(เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์)
ผลของ GDM ต่อการตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ทารกตัวโต
การบาดเจ็บจากการคลอด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การตายทารกปริกำเนิด
กลายเป็นคนอ้วนหรือเบาหวานในอนาคต
hypoglycemia hypocalcemia polycytemia hyperbilirubinemia
การวินิจฉัย
การตรวจหานํ้าตาลในปัสสาวะ
พบระดับนํ้าตาล > +2 ขึ้นไ ป ตั้งแต่ 2 ครั้งติดต่อกัน
การตรวจหาระดับนํ้าตาลในเลือด
Two step approach
กลุ่มที่มีความเสี่ยงปานกลาง
ไม่จัดอยู่ในความเสี่ยงสูงหรือต่ำ
ตรวจกรองเมื่อ GA 24-28 wks.
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
อายุมากกว่า 35 ปี โอกาสเกิด GDM 21.7 เท่า > 40 ปี โอกาสเกิด GDM 31.9 เท่า
อ้วน ( BMI > 30 ความเสี่ยงเพิ่ม 4 เท่า,BMI >35 ความเสี่ยงเพิ่ม 8 เท่า)
เบาหวานในญาติใกล้ชิด
ประวัติเบาหวานในครรภ์ที่ผ่านมา
ประวัติการคลอดที่ผ่านมาผิดปกติ เช่น เคยคลอดทารกนํ้าหนักมากกว่า4000g
พบนํ้าตาลในปัสสาวะ
ตรวจกรองตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์ หรือทันทีที่ตรวจได้ และตรวจซํ้าเมื่อ GA
24-28 wks. ถ้าตรวจครั้งแรกไม่พบGDM
กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำ
อายุน้อยกว่า 25 ปี
มีเชื้อชาติหรือพื้นเพเป็ นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำป
ไม่พบเบาหวานในญาติใกล้ชิด
นํ้าหนักก่อนตั้งครรภ์และนํ้าหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ปกติ(BMI น้อยกว่า 26 kg/m2)
ไม่มีประวัตินํ้าตาลในเลือดผิดปกติ
ไม่พบประวัติทางสูติศาสตร์ที่ผิดปกติ
One step approach
วิธีการนี้ได้รับการรับรองจาก ADA
ทำในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายหรือในหญิงตั้งครรภ์ที่มีความ
เสี่ยงสูง
ลดการเจาะเลือดหลายครั้ง
การวินิจฉัย GDM
ระดับนํ้าตาลในเลือดเมื่องด นํ้าและอาหาร 8-14 ชั่วโมง
(fasting plasma glucose ) > 126 mg/dl
ระดับนํ้าตาลในเลือดเมื่อไม่ได้อดอาหาร > 200 mg/dl
HbA 1 C > 6.5%
การวินิจฉัย pre-GDM
ระดับนํ้าตาลในเลือดเมื่อไม่ได้อดอาหาร > 200 mg/dl หลังการทำ 75 gm OGTT
ระดับนํ้าตาลในเลือดเมื่องด นํ้าและอาหาร 8-14 ชั่วโมง
(fasting plasma glucose ) > 126 mg/dl
HbA 1 C > 6.5%
พยาธิวิทยา
ระยะแรกของการตั้งครรภ์
Estrogen และ Progesterone จากรก มีผลเพิ่มการทำงานของ beta cell ของตับอ่อน ทำให้มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้นระดับ FBS ต่ำกว่าระดับก่อนการตั้งครรภ์
ระยะหลังของการตั้งครรภ์
รกสร้างฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ต้าน insulin ขึ้นอย่างมาก ที่สำคัญที่สุด คือ HPL (Human Placenta Lactogen) นอกจากนี้ prolactin, cortisol, glucagon growth hormoneก็ยังมีฤทธิ์นี้ ด้วย ทำให้ความดื้อต่อ insulin มีมากขึ้น (diabetogenic effect) ส่งผลทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้นจึงเกิดเป็นเบาหวาน
อาการและอาการแสดง
โรคเบาหวานไม่รุนแรง
ไม่มีอาการและอาการแสดง
ทราบจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคเบาหวานรุนแรง
ปัสสาวะมาก
คอแห้ง กระหายน้ำ
หิวบ่อย
น้ำหนักลด
ตามั่ว
แผลหายช้า
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ติดเชื้อที่ผิวหนัง
Ketoacidosis
ผลของการตั้งครรภ์ต่อเบาหวาน
การต้านฤทธิ์ insulin จากฮอร์โมนของรก
การควบคุมเบาหวานยากขึ้น
การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
นํ้าตาลในเลือดตํ่าขณะคลอด
โอกาสเกิด metabolic acidosis ง่ายขึ้น
Diabetic nephropathy
Diabetic retinopathy
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การรับประทานอาหาร
30-35 kcal/kg/day เฉลี่ย 1,800-2,000 kcal/day
แบ่งเป็นอาหารหลัก 3 มื้อและอาหารว่าง 3 มื้อ
เลือกรับประทานอาหารที่มีดัชนีน้ำตาลต่ำและเป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
หลักเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง ไขมันสูง อาหารรสจัดและเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
ควรดื่มน้ำระหว่างมื้ออาหารให้มากกว่าขณะรับประทานอาหาร
ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
การรักษาความสะอาดของร่างกายและอวัยวะสืบพันธ์
การดูแลเท้าโดยการบริหารเท้าและแช่เท้าในน้ำอุ่นวันละ 5 นาที
การนับลูกดิ้นหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
หากมีอาการผิดปกติควรมาพบแพทย์ก่อนนัด เช่น ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูงกว่าปกติ การติดเชื้อความดันโลหิตสูง เป็นต้น
ระยะคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ดูแลไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ระยะก่อนตั้งครรภ์
อธิบายความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
แนะนำการคุมกำเนิดจนกว่าจะคุมระดับน้ำตาลได้
แนะนำให้คุมระดับน้ำตาลก่อนตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติต่อไป
นัดตรวจ 75 gm-OGTT ช่วง 6 สัปดาห์หลังคลอด
อาหารเบาหวาน
พลังงานที่ร่างกายต้องการปริมาณ 30-35 Kcal/kg (Ideal Body weight)/day
(Ideal Body weight = ส่วนสูง(ซ.ม.) – 100 – (10% ผลลบ)
ชนิดและคุณภาพอาหาร
คาร์โบไฮเดรต
มีค่าไกลซีมิกอินเดกซ์ตํ่า
มีใยอาหารมาก : ชนิดละลายในนํ้า
นํ้าตาลจากธรรมชาตที่ได้จาก นมสด ผลไม้ 10-15%
โปรตีน
โปรตีน 0.8-1.0 กรัม/น.น. 1 ก.ก.
ไข่ถั่วนม
เนื้อสัตว์ไม่ติดเชื้อ
งด เนื้อสัตว์แปรรูป
งดเครื่องในสัตว์
ไขมัน
ไขมันอิ่มตัว<10% ของพลังงานที่ได้รับ
ไขมันไม่อิ่มตัว
Monnounsaturated fatty acid(MUFA)
นํ้ามันมะกอก ถั่วลิสง
Polyunsaturated fatty acid(PUFA)
ข้าวโพด ถั่วเหลือง งา ปลา
โคเลสเตอรอล<300 มก./วัน
นายวิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปีที่ 3