Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือเรียนรู้วิถีชุมชน 7 ชิ้น, นางสาว จิราภรณ์ สนธิสัมพันธ์ เลขที่ 7 …
เครื่องมือเรียนรู้วิถีชุมชน 7 ชิ้น
เครื่องมือที่ 1 แผนที่เดินดิน
เปรียบเสมือนบันไดขั้นแรกที่สำคัญที่สุด ที่จะนำไปสู่ความเข้าใจชุมชน
ด้วยวิธีการง่ายๆและใช้เวลาไม่นาน
หลักการทำ
4) เขียนอธิบายเพิ่มเติมรายละเอียดทางกายภาพของบ้านเรือน เช่น บ้านเก่า มีรั้ว ไม่มีคนอยู่
5) สังเกตกิจกรรมทางสังคม แล้วนำมาบันทึกในแผนที่
3) ลงพื้นที่เดินสำรวจ พูดคุย สัมภาษณ์และสังเกต
6) โยงความสัมพันธ์ทางสังคมในชุมชน ใช้ลูกศรพร้อมอธิบายโยงเชื่อมระหว่างครอบครัว
เช่น บ้านที่เป็นญาติกัน
2) ลงข้อมูลพื้นฐานในแผนที่ เช่น เลขที่บ้าน ชื่อ สถานที่สำคัญ
7) ทำระบบสัญลักษณ์พร้อมคำอธิบาย เช่น ใช้ สี ธง กากบาท ตามจุดที่สำคัญ
ตัวอย่างแผนที่เดินดิน
1) เริ่มจากการนำแผนที่ชุมชนที่มีอยู่แล้วมาประกอบ
ประโยชน์ของ “แผนที่เดินดิน”
3) ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
4) ทำให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่จะทางานต่อได้อย่างครอบคลุมทั่วถึง
2) ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่จำนวนมากในระยะเวลาที่สั้นที่สุด
5) ช่วยในการเริ่มต้นความสัมพันธ์และสร้างความคุ้นเคย กับสมาชิกในชุมชนได้เป็นอย่างดี
1) ทำให้เห็นภาพรวมของชุมชนได้อย่างครบถ้วนที่สุด
เครื่องมือที่ 2 ผังเครือญาติ
ความสัมพันธ์ที่ถือได้ว่าเป็นพื้นฐานที่สุดของชีวิตในชุมชนคือ
ความสัมพันธ์แบบเครือญาติ
หลักการทำ
2) ความสัมพันธ์ในผังเครือญาติ ต้องสอบถามเกี่ยวกับลูกหลานและการแต่งงานระหว่างตระกูล
3) ควรสอบถามเชื่อมโยงออกไปให้มากที่สุด
1) การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผังเครือญาติ ควรเก็บและสอบถามจากผู้ให้ข้อมูลหลัก
4) การอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวของรักร่วมเพศ อาจต้องใช้การเขียนคำอธิบายเพิ่มเติมในแผนผังเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
ประโยชน์ของ “ผังเครือญาติ”
2) ทำให้ความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์เครือญาติ
สามารถถ่ายทอดและเรียนรู้กันได้ผ่านรูปแบบสัญลักษณ์ง่ายๆ
3) ใช้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ และโรคทางพันธุกรรม
1) ช่วยให้เข้าใจโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ
4) ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีและความสนิทสนมคุ้นเคย
ระหว่างเจ้าหน้าที่กับชาวบ้านได้อย่างรวดเร็ว
เครื่องมือที่ 3 เครื่องมือที่ 3 โครงสร้างองค์กรชุมชน
หลักการทำ
รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์หรือสังเกตปฏิสัมพันธ์ทางสังคมต่างๆ
3) ความสัมพันธ์ทางการเมือง เช่น โครงสร้างการปกครองท้องถิ่น
4) ทำแผนผัง โดยเริ่มจากผู้นำที่มีบทบาทสาคัญในชุมชน
2) ความสัมพันธ์ทางสังคม เช่น กลุ่มวัยรุ่น วัยแรงงาน คนเฒ่าคนแก่
5) หากบุคคลนั้นเป็นสมาชิกกลุ่ม ให้เขียนสัญลักษณ์แทนสมาชิกกลุ่มที่สำคัญ
1) ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เช่น มีอาชีพอะไรบ้าง มีกลุ่มอาชีพต่างๆหรือไม่ สัมพันธ์กันอย่างไร
6) หากบุคคลมีความสัมพันธ์ข้ามกลุ่ม ให้เขียนเส้นเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มต่างๆ
ประโยชน์ “โครงสร้างองค์กรชุมชน”
1) เห็นได้ชัดเจนถึงมิติความสัมพันธ์ในชุมชน เช่น ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ
การเข้าใจว่าคนกลุ่มไหน หรือตระกูลไหนมีบทบาทต่อชุมชน
2) เห็นศักยภาพที่มีอยู่ผ่านเครือข่ายความสัมพันธ์ซึ่งจัดว่าเป็น ‘ทุนทางสังคม’
เครื่องมือที่ 4 ระบบสุขภาพชุมชน
สะท้อนมิติชุมชนด้านอื่นๆ ระบบวิธีคิด โลกทัศน์ หรือจักรวาลวิทยาของท้องถิ่น
หลักการทำ
1) บันทึกเหตุการณ์ความเจ็บป่วยติดตามสิ่งที่เกิดขึ้น
ตั้งแต่เริ่มป่วยจนสิ้นสุดการรักษา
2) พูดคุย สัมภาษณ์และสังเกตผู้มีประสบการณ์
เกี่ยวกับการเจ็บป่วยหรือปัญหาสุขภาพ
3) ทำ Mind Mapping โดยเริ่มจากแกนกลาง
4) ลงรายละเอียดที่ทำให้การทำงานเป็นไปได้
ประโยชน์ “ระบบสุขภาพชุมชน”
1) จากการบันทึกทำให้เห็น ‘ระบบการแพทย์แบบพหุลักษณ์’
2) เห็น ‘โลกสุขภาพ’ ของชาวบ้าน
3) เห็นความหลากหลายของวัฒนธรรมสุขภาพที่ดำรงอยู่
4) เห็นปัญหา ศักยภาพ และทุนทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน
5) เข้าใจวัฒนธรรมความเชื่อวิธีปฏิบัติและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของท้องถิ่น
เครื่องมือที่ 5 ปฏิทินชุมชน
ตารางกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งรวบรวมเหตุการณ์และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันของชุมชนในรอบปี รอบเดือน หรือช่วงระยะเวลาหนึ่ง
หลักการทำ
1) จำแนกกิจกรรมเพื่อเป็นปฏิทินชุมชน 2 ลักษณะ คือ ปฏิทินด้านเศรษฐกิจ และ ปฏิทินด้านวัฒนธรรม
2) รวบรวมข้อมูลด้านอาชีพ
3) สอบถามข้อมูลกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม เช่น งานบุญตามประเพณีต่างๆ
ประโยชน์ “ปฎิทินชุมชน”
2) ทำให้เห็นถึงเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน
3) ทำให้สามารถวางแผนการทางานกับชุมชนได้ดีขึ้น
1) ทำให้เข้าใจแบบแผนกิจกรรม เหตุการณ์ ของชุมชนที่เกิดขึ้น และสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
เครื่องมือที่ 7 ประวัติชีวิต
เรียนรู้มิติความเป็นมนุษย์ในงานชุมชน ไม่ได้มุ่งให้ได้ข้อมูลครบถ้วน แต่มุ่งเข้าใจและซึมซับเรื่องราวประสบการณ์ชีวิตของผู้คนในชุมชน
หลักการทำ
3) ถามหาเรื่องราวไม่ใช่ข้อเท็จจริงเป็นข้อๆ
4) การรู้จักตัวละครอื่นๆในชีวิตผู้ถูกสัมภาษณ์ จะช่วยให้เราตั้งคำถามแบบชวนคุยได้ดีขึ้น
2) เน้นบางกลุ่ม เวลาจากัดไม่สามารถศึกษาทุกชีวิตได้
5) จดบันทึกเสมอ หากจะบันทึกเสียงหรือภาพต้องขออนุญาตก่อน
1) สร้างความคุ้นเคยและไว้วางใจ เช่น ทักทาย แนะนำตัว
ประโยชน์ “ประวัติชีวิต”
3) ทำให้เราเห็นถึงศักยภาพและทุนมนุษย์ที่มีอยู่ในชุมชน
4) ช่วยเติมมิติของความเป็นมนุษย์ให้กับงานชุมชน
2) ช่วยสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนได้เป็นอย่างดี
1) ช่วยให้เราเห็นว่าค่านิยมและวัฒนธรรมท้องถิ่น
5) ประวัติชีวิตบอกแง่มุมต่างๆของชีวิต ที่ถ่ายทอดผ่านเรื่องเล่า สะท้อนคุณสมบัติ บุคลิกภาพ นิสัยและความนึกคิด
เครื่องมือที่ 6 ประวัติศาสตร์ชุมชน
ผสมผสานข้อเท็จจริง จินตนาการ และความทรงจำของท้องถิ่น ถูกสืบทอดผ่านเรื่องเล่า แบบแผนการปฏิบัติต่างๆของชุมชน
หลักการทำ
1) การเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติ หรือรู้ว่ามีเหตุการณ์สำคัญๆอะไรเกิดขึ้นในภาพใหญ่ของประเทศจะช่วยให้เราเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่นดีขึ้น
2) อาศัยการสอบถามหรือสัมภาษณ์ผู้รู้ในท้องถิ่น
3) แบ่งคำถามเป็นหมวดหมู่ เช่น ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สุขภาพ
4) เรียบเรียงเป็นบทความพรรณนา หรือเขียนเป็น timeline ด้วยสัญลักษณ์
ประโยชน์ “ประวัติศาสตร์ชุมชน”
2) ช่วยลดอคติหรือภาพลักษณ์แบบเหมารวม
3)ทำให้เราสามารถเลือกวิธีการทำงานกับชุมชนให้สอดคล้อง
กับประสบการณ์ ความคาดหวัง และศักยภาพของชุมชนได้ดีขึ้น
1) การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนเหมือนกับ
การได้เข้าใจคนคนหนึ่งว่าเขามีความเป็นมาอย่างไร
นางสาว จิราภรณ์ สนธิสัมพันธ์ เลขที่ 7
รหัสนักศึกษา 603901008