Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วินิจฉัยทางการพยาบาล - Coggle Diagram
วินิจฉัยทางการพยาบาล
บทที่6การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรเเละกลุ่มตัวอย่าง
ปรชากร คือ สมาชิกทุกหน่วยของสิ่งที่สนใจศึกษา
Inclusion criteria คืือประชากรที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา
Exclusion criteria คือบุคคลที่จะไม่นำมาศึกษา
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนหนึ่งของประชากรที่นำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวเเทนของประชาชน
วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง คือกระบวนการไดด้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวเเทนที่ดีของประชากร
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น (สามารถกำหนดโอกาสที่หน่วยตัวอย่างเเต่ละหน่วยถถูกเลือก การเลือกกลุ่มตัวอย่างเเบบนี้ใช้อ้างอิงในประชากรได้)
1.รู้จำนวนปรชากรทั้งหมด 2.ประชากรทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน 3.ใช้วิธีสุ่มที่เหมาะสม 4.ใช้วิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม
การสุ่มเเบบง่าย
วิธีการจับฉลาก
วิธีใช้ตารางตัวเลขสุ่ม
ข้อเด่น ง่ายไม่ซับซ้อน ข้อเสีย ต้องมีบัชชีรายชื่อสมาชิกทุกหน่วยของประชากร ใช้เวลามากเเละค่าใช้จ่ายสูง
การสุ่มตัวอย่างเเบบระบบ คือ การสุ่มที่มีรายชื่อทุกหน่วย จะสุ่มประชากรออกเป็นช่วงๆที่เท่ากัน
การสุ่มตัวอย่างเเบบชั้นภูมิ คือ หน่วยประชากรในเเต่ละชั้นภูมิจะมีลักษณะเหมือนกัน เเต่ระหว่างชั้นเเตกต่างกันมากที่สุด
การสสุ่มตัวอย่างเเบบกลุ่ม ประชากรเเบ่งออกตามพื้นที่โดยไม่จำเป็นต้องทำบัชชี หน่วยประชากรในเเต่ละภูมิต่างกัน เเต่ระหว่างชั้นเหมือนกัน
การสุ่มตัวอย่างเเบบหลายขั้นตอน คืือประชากรมากหรือผู้วิจับไม่รู้ขอบข่ายเเน่นอนของประชากร
การสุ่มเเบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น(ไม่ทราบประชากรที่เเท้จริิงทำให้ไม่สามารถสุ่มเเบบอศัยความน่าจะเป็นได้)
การเลือกสุ่มเเบบสะดวกสบาย คือ ไม่มีกฎเกณฑ์ อาศัยความสะดวกของผู้วิจัยเป็นหลัก กลุ่มตัวอย่างจะเป็นใครก็ได้ที่ร่วมมือกับผู้วิจัย
การเลือกตัวอย่างเเบบเจาะจง คือใครก็ได้ที่มีลักษณะตามความต้องการของผู้วิจัย
การเลือกกลุ่มตัวอย่างเเบบโควต้า คือ การกำหนดคุณลักษณะเเละสัดส่วนที่ต้องการไว้ล่วงหน้า
การเลือกกลุ่มตัวอย่างเเบบลูกโซ่ คือ การสุ่มโดยอาศัยคำเเนะนำของตัวอย่างที่ไปเก็บข้อมูลเเล้ว
ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ต้องเป็นตัวเเทนที่ดี
มีขนาดพอเหมาะ
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ความเเปรปรวนของประชากรหรือความเเตกต่างของประชากร หากความเเปรปรวนมากต้องใช้กลุ่มตัวอย่างมาก
ระดับการยอมรับความเเตกต่างงระหว่างค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่างกับค่าพารามิเตอร์ของประชากร ยอมรับความเเตกต่างได้ก็ไม่มีความจำเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างมาก
จำนวนประชากร ถ้ามากควรใช้ตัวอย่างมาก
จำนวนงบประมาณเเละเวลาที่ใช้ในการวิจัยหากมีมากพอก็ใช้ตัวอย่างมาก
วิธีการกำหนดขนาดของตัวอย่าง
จากการกำหนดเกณฑ์
ประชากรหลักร้อย กลุ่มตัวอย่าง 25%
ประชากรหลักพัน กลุ่มตัวอย่าง 10%
ประชากรหลักเเสน กลุ่มตัวอย่าง 1%
ประชากรหลักหมื่น กลุ่มตัวอย่าง 5%
การใช้ตารางสำเร็จรูป
ตารางของทาโร ยามาเน่ คือ สัดส่วนประชากรโดยคาดว่าสัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5เเละระดับความเชื่อมั่น 95% ต้องทราบขนาดประชากรเเละกำหนดระะดับความคลาดเคลื่ออนทีี่ยอมรับได้
ตารางของเครจซี่เเละมอร์เเกน คือสัดส่วนประชากรโดยคาดว่าสัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5เเละระดับความเชื่อมั่น 95% คำนวนประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ขนาดเล็กได้ตั้งเเต่ 10 ขึ้นไป
การใช้สูตรคูณ
ทราบขนาดประชากร
ไม่ทราบขนาดของประชากร
บทที่4การวิจัยทางการพยาบาล
การกำหนดสมมุติฐานการวิจัย
คำตอบที่คาดกาารณ์ไว่ล่วงหน้ากับปัญหาที่ศึกษา เขียนอยู่ในลักษณะของข้อความที่กล่าวถึึงความสัมพันธ์ของตัวเเปรตั้งเเต่ 2 ตัวขึ้นไป
คำตอบนั้นอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้องก็ได้
สมมติฐานทางวิจัย คือ เป็นสมมติฐานที่เขียนอยู่ในรู)ของข้อความที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการอธิบายความสัมพันธ์ของตัวเเปรที่ศึกษา
ประโยชน์ชองสมมติฐาน
2.ชี้เเนวทางในการวางเเผนการวิจัย
3.นักวิจัยมีความคิดเเจ่มเเจ้งในเรื่องที่ทำการวิจัย
1.บอกขอบเขตของปัญหา
4.เเนวทางในนการลงสรุป
วิธีตั้งสมมติฐาน
พิจารณาจุดมุ่งหมายของการวิจัย
ตั้งสมมติฐานเป็นกลางเเละไม่เป็นกลางควบคู่กัน
จะตั้งเเบมีทิศทางหรือไม่มีทิศทางก็ได้
เทคนิคการเขียนสมมติฐาน
เเบบมีทิศทาง
ระบุเเน่นอนทิศทางของตัวเเปรทางบวกหรือลบ
สมมติฐานเเบบนี้ผู้วิจัยมีความเชื่อมั่นค่อนข้างสูง
ระบุทิศทางความเเตกต่าง เช่น น้อยกว่า มากกว่า
ไม่มีทิศทาง
ระบุเเค่ตัวเเปรมีความสัมพันธ์กัน
สมมติฐานทางสถิติ คือเขียนในรูปของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์โดยใช้สัญลักษณ์เเทนลักษณะประชากร ที่เรียกว่าค่าพารามิเตอร์
สมมติฐานหลักNull Hypothesis(H0) อธิบายว่าไม่มีความแตกต่าง
หรือไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypotheses)(H1)เป็นสมมติฐานที่เขียนให้สอดคล้องกับสมมติฐานทางการวิจัยให้เห็นว่ามีความแตกต่างหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
การทดสอบสมมติฐาน คือ ใช้ค่าสถิติที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่างไปตรวจสอบสมมติฐานทางสถิติที่ตั้งขึ้นตามสมมติฐานการวิจัย
การกำหนดการระดับนัยสำคัญ คือ การกำหนดขอบเขตของความตาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้น โดยใช้ความน่าจะเป็น
การกำหนดสำคัญ คือ ค่าของความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐาน หลักH0 เมื่อHO เป็นจริง
ระดับความเชื่อมั่น
เเหล่งที่มาของสมมติฐานการวิจัย
การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ
ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
การทบทวนวรรณกรรม
การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่นๆ
การสังเกตพฤติกรรม
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
อธิบายหรือตอบคำถามได้
ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฏีเเละความรู้พื้นฐาน
เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายเเละมีความชัดเจน
สามารถตรวจสอบได้
มีขอบเขตพอเหมาะไม่เเคบหรือกว้างไป
มีอำนาจในการพยากรณ์
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
ความสำคัญของการเขียนขอบเขตการวิจัยคือ วิจัยเเต่ละเรื่องไม่สามารถศึกษาได้ครอบคลุมในทุกประเด็นการกำหนดขอบเขต จะทำให้งาานวิจัยชัดเจนเเละเป็นตามวัตถุประสงค์
ตัวเเปรที่ใช้ในการศึกษา
ขอบเขตที่เกี่ยวกับเวลา
ประชากรเเละกลุ่มตัวอย่าง
ขอบเขขตที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่ศึกษา
การกำหนดตัวเเปร
ตัวเเปร(Variable) คือ สิ่งที่จะศึกษาค้นคว้าตามปัญหาหรือจุดประสงค์ของการวิจัย
ลักษณะตััวเเปร
ตัวเเปรรูปธรรม(มองเห็นชัดเจน) เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ
ตัวเเปรนามธรรม(ลักษณะเฉพาะตัว)คนทั่วไปอาจจรับรู้ได้ตรงกันหรือไม่ตรงกันก็ได้ เช่น ความวิตกกังวล ทัศนคติ
ชนิดของตัวเเปร
ตัวเเปรตาม คือ เป็นผลจากการเปลี่ยนเเปลงค่าของตัวเเปรอิสระ นำมาวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามของวิจัย เปลี่ยนเเปลงไปตามเหตุการณ์หรือการทดลอง
ตัวเเปรเเทรกซ้อนหรือตัวเเปรเกิน (ตัวเเปรควบคุม) คือตัวเเปรที่ไม่
ต้องการศึษาของงานิจัย ต้องควบคุมให้เกิดน้อยที่สุด ตัวเเปรชนิดนี้ผู้วิจัยคาดการณ์ได้ว่าจะมีอะไรบ้าง จึงสามารถทำการควบคุมได้ล่วงหน้า
ตัวเเปรต้นหรือตัวเเปรอิสระ คือ ตัวเเปรที่เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดผล กำหนดหรือจัดกระทำได้ เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้น
ตัวเเปรสอดเเทรก คือผู้วิจัยไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า มีอะไรบ้างเเละจะเกิดขึ้นเมื่อใด จึงไม่สามารถหาทางควบคุมได้
ชนิดของตัวเเปรในวิจัยเชิงการทดลอง/กึ่งทดลอง
ตัวเเปรตาม
ตัวเเปรควบคุม คือ สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกัน เป็นการวบคุมเพื่อให้เเน่ใจว่าผลการทดลองเกิดจากตัวเเปรต้นอย่างเเท้จริง
ตัวเเปรต้นหรือตัวเเปรอิสระ
ระดับการวัดตัวเเปร
ระดับการวัดในมาตราอันดับ คือ บอกลำดับของข้อมูล มากน้อยกว่ากัน สูงต่ำกว่ากัน ไม่สามารถบอกได้ว่ามากน้อยต่างกันเท่าไหร่ ไม่สามารถบวกลบคูณหารได้
ระดับการวัดในมาตราอันตรภาค คือ สามารถบอกถึงความเเตกต่าง สามารถบอกถึงปริมาณความเเตกต่างกันเท่าไหร่ บวกลบกันได้ คูณหารกันได้ ไม่มีจุดศูนย์เเท้ มีเเต่ศูนย์สมมุติหรือศูนย์ที่กำหนดขึ้นมาเอง เช่น อุณหภูมิ คะเเนนสอบ
มาตรานามบัญญัติหรือระดับกลุ่ม คือ จัดกลึ่มเเยกตามลักณะ ใช้สัญลักษณ์บ่งบอกถึงลักษณะ #ไม่สามารถเอาตัวเลขที่เรากำหนดมาบวกลบคูณหารได้ ใช้สัญลักษณ์เท่านั้น
ระดับการวัดในมาตราอัตราส่วน คือ การวัดที่สมบูรณ์ นำมาเรียงความสำคััญ บอกความสูงต่ำมากน้อยได้ บอกปริมาณความเเตกต่างได้ บอกอัตรส่วนของความเเตกต่างได้ สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้
การนิยามตัวเเปร
ต้องให้ทราบว่าจะได้อย่างไรเพื่ออให้ผู้วิจัยเเละคนอื่นเข้าใจตรงกัน
การนิยามลักษณะปฏิบัติการ คือ 1) คุณลักษณะหรือองค์ประกอบบของตัวเเปร 2)พฤติกรรมที่เเสดงออกเนื่องจากตัวเเปรชนิดนี้มักเป็นคุณลักษณะเเฝงไม่สามารถสังเกตได้หรืออวัดได้โดยตรงจึงต้องวัดทางอ้อม
สถานการณ์หรือสิ่งเร้าที่เหมาะสม คือ นำมาเร้าให้บุคคลเเสดงพฤติกรรมเเละพฤติกกรมสามารถวัดได้
เชิงทฤษฏี คืออธิบายกว้างๆตามทฤษฏี หลักการ เเนวคิดหรือตามพจนานุกรม เเช่น เพศ มีชายกับหญิง
เกณฑ์ที่เป็นเครื่องชี้บ่งว่าพฤติกรรมทีี่เเสดงออกมานั้น มีความหมาย
เช่นใด เป็นที่ต้องการหรือไม่ต้องการ
Meaning of Variable สิ่งที่เเปรค่าได้ คือ ลักษณะ คุณสมบัติหรือออาการกิริยาของหน่วยต่างๆที่จะทำการศึกษาหรือวิจัย