Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติในการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความผิดปกติในการตั้งครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ IUGR
ชนิด
การเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน (symmetrical IUGR หรือ type I)
การเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน (asymmetrical IUGR หรือ type II)
สาเหตุ
Symmetrical IUGR
ยาและสารเสพติด
ยาลดความดันโลหิต : propanolol
ยาป้องกันการชัก : dilantin
การสูบบุหรี่ตั้งแต่ 10 มวน/วัน เพิ่มโอกาสเกิด IUGR 2 เท่า
การดื่มสุราวันละ 1 ออนซ์ ท้าให้ทารกเกิดภาวะ fetal alcoholsyndrome และ metabolite ของ alcohol ทำให้หลอดเลือดสายสะดือตีบตัน
Asymmetrical IUGR
มารดา
มารดาเป็นโรคหลอดเลือด
มารดาเป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดในการจับ O2
ทารก
ภาวะครรภ์แฝด
ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู และส่งผลกระทบต่อจิตใจ
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอด
ผลต่อทารก
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่้า (hypocalcemia)
มีโอกาสเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า (hypoglycemia)
ภาวะความเข้มข้นของเลือดสูง (polycythemia)
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจ Ultrasound เพื่อวินิจฉัย IUGR
วัด AC ได้น้อยกว่า -2SD (เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 3) ของค่า AC ที่ GA
BW ของสตรีตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้นน้อยหรือไม่เพิ่ม
การรักษา
ตรวจ U/S ทุก 2-3 week
รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
วินิจฉัยภาวะ IUGR ให้ได้ตั้งแต่แรกเริ่ม
หากทารกอยู่ในภาวะเสี่ยงมากพิจารณาให้คลอดโดยเร็วที่สุด
การพยาบาล
ระยะคลอด
หากพบ meconium ในน้้าคร่ำ หรือ FHS ผิดปกติ ควรให้นอนตะแคงซ้าย ดูแลให้ได้รับ O2
หลีกเลี่ยงการให้ยาบรรเทาปวดเนื่องจากเสี่ยงต่อการกดการหายใจของทารกได้
ระยะหลังคลอด
ตรวจร่างกายอย่างละเอียดเพื่อประเมินความพิการ
ให้การพยาบาลโดยเน้นการควบคุมอุณหภูมิของทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะการเพิ่มโปรตีน
แนะน้าการนับลูกดิ้น หากดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชม. ควรรีบมาพบแพทย์
Amniotic fluid embolism
ภาวะน้้าคร่้าอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
สาเหตุ
มีทางเปิดของหลอดเลือดดำของหญิงตั้งครรภ์ และมีแรงดัน
เพียงพอให้น้้าคร่ำพลัดเข้าไปสู่กระแสโลหิต
ปัจจัยส่งเสริม
มีบุตรหลายคน (Multi parity)
อายุมากกว่า 35 ปี
ปากมดลูกเปิดหมด ยังไม่ได้เจาะถุงน้้าหรือถุงน้้ายังไม่แตก
พยาธิสภาพ
1.เกิดการอุดตันหลอดเลือดโดยเฉพาะหลอดเลือดดำเล็กๆในปอดจากส่วนประกอบของน้้าคร่ำ
ผู้ป่วยจะมีภาวะเขียวทั่วร่างกาย
ส่วนประกอบของน้้าคร่ำที่อยู่ในกระแสเลือดกระตุ้นให้เกิด (DIC)
การไหลเวียนของเลือดไม่ดี
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่ดี เกิดการขาดออกซิเจน
ตกเลือด และหากตกเลือดมาก จะท้าให้เกิดภาวะผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
เลือดออกไม่หยุด
หายใจลำบาก หอบ เขียว
การรักษา
ระยะที่ 1 ระยะช็อกมีความดันโลหิตต่ำ ระบบหัวใจ และหายใจล้มเหลว ซึ่งจะต้องทำการ resuscitate หรือ CPR
ระยะที่ 2 ระยะหลังช็อก หลังทำ CPR จะเกิดภาวะ severe disseminated intravascular coagulation
ให้นอนศีรษะสูง
การให้ออกซิเจน
มารดาวัยรุ่น (Teenage or adolescent pregnancy)
การจัดบริการที่เข้าใจธรรมชาติ ความต้องการ
และปัญหาของวัยรุ่น
การรักษาความลับของผู้รับบริการ ให้เวลาเป็นส่วนตัว
มีทักษะในเรื่องการสื่อสารและการให้การปรึกษาแก่วัยรุ่น
มีทัศนคติที่ดีและมองวัยรุ่นอย่างมีคุณค่าและให้เกียรติ
ไม่ซ้ำเติม ไมพ่ดูจาทำนองส่อเสียด ตำหนิ
ให้การดูแลอย่างต่อเนื่องโดยบุคลากรคนเดิม
สาเหตุ
ปัจจัยด้านครอบครัว
ภาระหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องทำงาน
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี พ่อแม่ทะเลาะกัน
ปัจจัยด้านวัยรุ่น
การมีประจำเดือนครั้งแรกเร็ว ทำให้มีการตกไข่เร็วจึงสามารถตั้งครรภ์อายุน้อยได้
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ พัฒนาการทางเพศเริ่มสมบูรณ์
ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
รูปแบบการใช้ชีวิตอย่างเสรี
ระดับการศึกษาหรือสถานะทางสังคม
ขาดความรู้เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวและการป้องกันการตั้งครรภ์
การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด เพิ่มความเสี่ยงต่อ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การติดต่อผ่านสื่อสังคมออนไลน์ผ่านทาง Facebook, Line, Instagram
ทำให้วัยรุ่นถูกล่อลวงไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้ง่าย
เข้าถึงสื่อออนไลน์ต่างๆ ได้ง่าย
ปัจจัยเสริม
การถูกข่มขืนโดยบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลอื่น
ผลกระทบ
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
ศึกษาต่ำ เสียโอกาสพัฒนาตนเอง
ทารกถูกทอดทิ้งไว้ที่รพ. หรืออยู่กับตายาย
เลือกงานได้น้อย เป็นแรงงานไร้ฝีมือ มีรายได้น้อย
ด้านจิตสังคม
ปัญหาในการปรับตัวกับการตั้งครรภ์และปรับบทบาทการเป็นมารดา
ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและครอบครัว
ไม่ยอมรับ และปกปิด การตั้งครรภ์ ซึมเศร้าหลังคลอด
ต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด หรือเกินกำหนด
ทารกแรกเกิดน้ าหนักตัวน้อยจากภาวะทุโภชนาการของมารดา
ทารกได้รับการดูแลไม่เหมาะสมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ด้านร่างกาย
ไม่กล้ามาฝากครรภ์
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน (CPD)
การเจริญของระบบต่างๆในร่างกายยังไม่สมบูรณ์จึงเพิ่มความเสี่ยง
อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบ สังคม ทารก ครอบครัว ต่อสตรีตั้งครรภ์
การพยาบาล
ป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ให้คำปรึกษาสตรีและครัวครัวอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะสตรีที่มีการตั้งครรภ์ปกติ และต้องการให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
สตรีที่ทำแท้งเรียบร้อยแล้ว ให้การดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้ง ก่อนกลับบ้านแนะนำเรื่องการวางแผนครอบครัว
มารดาอายุมาก (elderly pravida)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านจิตใจ
สับสนในบทบาท การปรับตัวได้ช้า
เครียดหรือวิตกกังวลกับการตั้งครรภ์มากกว่าปกติ
อายเพราะตั้งครรภ์อายุมาก
ด้านร่างกาย
โรคประจำตัวเรื้อรังมีความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธ์อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเช่น การตั้งครรภ์แฝด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในขณะตั้งครรภ์
อัตราการตายสูงขึ้นโดยเฉพาะสตรีที่ตั้งครรภ์ในช่วงอายุ 35-39ปี
ผลกระทบต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด หรือเกินกำหนด
ความพิการแต่กำเนิดของทารกโดยเฉพาะ Down’s syndrome
การกระทำรุนแรงต่อสตรีตั้งครรภ์ IPV
ชนิดของความรุนแรง
การคุกคามทางกายหรือทางเพศ
ความรุนแรงทางจิตใจ/อารมณ์
ความรุนแรงทางกาย
ความรุนแรงทางเพศ
ผลกระทบ
การตั้งครรภ์และการคลอด : มีเลือดออกทางช่องคลอด เกิดการเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนดรกลอกตัวก่อนกำหนด บางรายอาจเกิดการแท้งบุตร
ทารก: ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า คลอดก่อนกำหนดมีน้ำหนักตัวน้อยมีคะแนน(Apgar score) แรกเกิดต่ำ ตายในครรภ์หรือตายคลอด
การพยาบาล
เพื่อส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและสตรีมีครรภ์ไม่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำ
เพื่อส่งเสริมการปรับตัวขอสตรีมีครรภ์และครอบครัว
ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ความรุนแรง
การใช้สารเสพติดในสตรีตั้งครรภ์
(Drug addicted pregnancy)
กลุ่มที่กดการทำงานของระบบประสาท (Central nervoussystem depressants)
สูบบุหรี่
ผลต่อทารก
ทารกในครรภ์เติบโตช้า เกิดก่อนกำหนด หายใจลำบาก แท้ง ตาย
การเผาผลาญแคลเซียมเสียไป
หลอดเลือดหดตัว ทารกในครรภ์ขาดเลือดมาเลี้ยง
กลุ่มที่กระตุ้นการทำงานของประสาท (Central nervoussystem stimulants)
ดื่มแอลกอฮอล์
ผลต่อการทารก
ศีรษะเล็ก ปัญญาอ่อน แขนขาพิการ ตัวอ่อนปวกเปียก
ทารกเกิด FAS (Fetal alcohol Syndromes)
เฮโรอีนระยะตั้งครรภ์
ผลต่อทารก
พิการแต่กำเนิด การเจริญเติบโตล่าช้า
ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
ภาวะขาดยา (neonatal abstinence syndrome)
มีอาการระบบประสาท
แสดงอาการภายใน 24-48 ชม.
หิวตลอดเวลา ดูดไม่ดี เหงื่อออก ตัวเย็น
อาการระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ไม่ดูดนม เกร็งท้อง ขาดน้ำ