Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การสร้างเสิมสุภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การสร้างเสิมสุภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่
สามารถสร้างเสริมสุขภาพของวัยผู้ใหญ่ได้อย่างเหมาะสม
ให้บุคคลมีสุขภาพแข็งแรง
ให้บุคคลวัยผู้ใหญ่สามารถกระทำบทบาทหน้าที่อื่นๆได้อย่างสมบูรณ์
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
วัยหมดประจำเดือนหรือสตรีวัยทอง
ปัญหาการมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
การรับประทานอาหารไม่เหมาะสม
การขาดการออกกำลังกาย
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
การประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดจากทางกายภาพชีวภาพเคมี
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
ความกดดันเนื่องจากขาดโอกาสในสังคมและที่ทำงานขาดการยอมรับ
ขาดที่พึ่งทั้งจิตวิญญาณ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตใจ
วิตกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เสื่อมลง
วิตกกังวลเกี่ยวกับชีวิตสมรสปัญหาของบุตร
กังวลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
มีภาวะเครียดจากเศรษฐกิจในครอบครัว
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
ปัญหาการปรับตัวในการประกอบอาชีพ
ปัญหาเรื่องการเลือกคู่ครองชีวิตสมรส
ปัญหาการปรับตัวให้เข้ากับบทบาทใหม่เพื่อนใหม่
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่
ด้านร่างกายส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การออกกำลังกาย
การรับประทานอาหาร
สนับสนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี
ด้านจิตอารมณ์
พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับตนเอง
สร้างเสริมเทคนิคการจัดการความเครียด
ส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี
ให้กำลังใจในการเผชิญปัญหา
ด้านสังคม
ส่งเสริมการปรับตัวเข้ากับแบบแผนชีวิตแบบใหม่
ส่งเสริมความผูกพันพ่อแม่และลูกวัยทารก
ส่งเสริมการบริหารเวลาที่เหมาะสม
2 การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้สูงอายุ
วิธีการสร้างเสริมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
การกระทำให้หรือกระทำแทน
การชี้แนะ
การสนับสนุน
การสอน
การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง
หลักการดูแลตนเองในวัยผู้สูงอายุ
ด้านโภชนาการและสารน้ำ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ควรได้รับคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
หลีกเลี่ยงน้ำตาลฟอกสี
ลดไขมันทุกชนิด
ได้รับน้ำเพียงพอ
สุขภาพของช่องปาก
ด้านการมีกิจกรรมการออกกำลังกาย
ไอโซเมตริก การหดตัวของกล้ามเนื้อ
ไอโซโทนิก ใช้แรงต้านในการเคลื่อนไหว
ไอโซคิเนติก การปั่นจักรยาน
การจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ควรตรวจร่างกายก่อน
ประเมินระดับการทำกิจกรรม
ให้ความสำคัญกับความสม่ำเสมอ
ตรวจสอบอัตราเร็วของหัวใจ
ควรอบอุ่นร่างกายอย่างน้อย 10 นาที
ใช้เวลาติดต่อกัน 20-30 นาที
ผ่อนคลายหลังออกกำลังกาย 10 นาที
เริ่มจากง่ายๆแล้วค่อยเพิ่มกิจกรรมขึ้น
การดูแลตนเองด้านการพักผ่อนและการนอนหลับ
ประเมินแผนการสอนสิ่งรบกวน
เพิ่มกิจกรรมในตอนกลางวันลดการงีบนอน
รักษาอุณหภูมิห้องให้อบอุ่น
ควบคุมสิ่งรบกวนการนอน
ปัสสาวะก่อนเข้านอน
ส่งเสริมการนอนหลับ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ
นวดหลังเช็ดตัวเป็นการผ่อนคลาย
ผ่อนคลายและแก้ไขสาเหตุที่วิตกกังวล
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความสุขสบาย
แนะนำการออกกำลังกายประจำในช่วงเช้าหรือเย็น
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา
ไม่ควรนอนหลับตอนกลางวันเกิน 30 นาที
พี่นอนต้องไม่แข็งหรือนิ่มเกินไป
มื้อเย็นควรรับประทานให้พอเหมาะ
ถ้ามีอาการปวดควรให้ยาบรรเทาปวด
ปรับชั่วโมงการนอนและกิจวัตรให้เหมาะสม
ลดความตึงเครียด 1 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
การป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ
สวมแว่นใส่หูฟัง
ใช้ไม้เท้าหรือเครื่องพยุงเดิน
จัดเก็บพื้นห้องให้เรียบร้อยไม่ลื่นไม่วางของเกะกะ
เปิดไฟให้สว่างเพียงพอ
ใช้ราวสำหรับจับเวลาลงนั่งหรือเดิน
ระวังระวังการใช้ยาบางชนิด
สวมเสื้อผ้าที่เหมาะสมพอดีตัว
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
การทำหน้าที่ของการรับรสและการดมกลิ่นลดลง
การทำงานของกระเพาะอาหารลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศจากไขมันลดลง
ความต้องการพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
ปัญหาทางด้านจิตใจ
มีความอ่อนแอตามวัยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
รายได้ลดลงไม่มีกำลังใจในการซื้ออาหาร