Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติอต่อเรื้อรัง - Coggle…
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติอต่อเรื้อรัง
โภชนบำบัด หรืออาหารบำบัดโรค (Diet therapy)
การวางแผนการให้โภชนบำบัด
การวางเเผนการใช้โภชนาบำบัด หลังจากวิเคราะห์ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยอย่างสมบูรณ์
กระบวนการทางโภชนาบำบัด
การวิเคราะห์ภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การวัดขนาดร่างกายของผู้ป่วย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางชีวเคมี
ขั้นการดำเนินการโภชนบำบัด
การให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่ต้องการรวมทั้งให้คำปรึกษาและให้โภชนศึกษา ความสำเร็จของโภชนบำบัด ต้องอาศัยความร่วมมือ ระหว่างแพทย์ พยาบาล นักกำหนดอาหาร
การใช้อาหารช่วยในการรักษาโรค การดัดแปลงอาหารธรรมดาให้เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ ช่วยรักษาบรรเทาอาการของโรค
ขั้นการประเมินผลโภชนบำบัด
การปรับปรุงแก้ไขตามผลที่ประเมินได้
การประเมินผล สังเกตหรือสอบถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารของผู้ป่วย เกี่ยวกับปริมาณอาหารที่รับประทานได้
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้โภชนบำบัด
แพทย์ แพทย์จะเป็นผู้สั่งลงในคำสั่งการรักษาของผู้ป่วย พร้อมทั้งมีลายเซ็นและวันที่กำกับไว้ด้วย
พยาบาล บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุด
เป็นผู้คัดลอกคำสั่งของแพทย์ เพื่อส่งไปยังหน่วยบริการอาหารใบสั่งอาหาร
หากผู้ป่วยมานอน ฝ่ายพยาบาลอาจสั่งอาหารอ่อนหรืออาหารนํ้าให้แก่ผู้ป่วยก่อน สำหรับมื้อ นั้นแหละ สำหรับมื้อต่อไปให้แพทย์สั่ง
คอยช่วยเหลือดูแลคนไข้ระหว่างรับประทานอาหาร คำปรึกษาแนะนำด้านอาหารกับผู้ป่วยโรคบางชนิด
นักกำหนดอาหาร
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(Non-Communicable Diseases )
เกิดจากเชื้อโรค ไม่ติดต่อ ไม่มีตัวพาหะนำโรค แต่เป็นโรคที่เราสร้างขึ้นเองล้วนๆ จากพฤติกรรมการใช้ชีวิต
โรคเบาหวาน
เรียนรู้และนับคาร์บกับอาหารแลกเปลี่ยน
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
รู้จักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน ใยอาหาร และมีค่าดัชนีนํ้าตาลตํ่า <55 ส่ง ส่งผลต่อการดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดช้า
เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคอเรสเตอรอลที่ไม่ดี(LDL) โดยไม่ลดคอเรสเตอรอล(HDL)
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
กินอาหารที่มีแอนตี้ออกซิเดนซ์
กินอาหารที่มีจุลินทรีย์สุขภาพ
รู้จักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
ลดและงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
ลดและงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์สัตว์และไขมันทรานซ์ เ
ลดอาหารหมักดองและอาหารเค็มจัด
โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
ทำให้มีความต้านทานการไหลของเลือด หลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น เปราะบางมากขึ้น
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันตัวร้ายในเลือดสูง
ผลิตภัณฑ์จำพวกนม เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว นํ้ามันปาล์ม นํ้ามันมะพร้าว
อาหารที่มีไขมันทรานส์
เป็นไขมันที่แข็งขึ้น หรือเป็นของกึ่งเหลว เช่น เนยเทียม หรือเนยขาว ได้แก่ ขนมอบต่างๆ เบเกอรี่ คุกกี้ แครกเกอร์ ขนม สำเร็จรูป
อาหารที่มีคอเลสเตอรอล พบได้ในผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์เท่านั้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
ไข่แดง เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก สัตว์นํ้าประเภทที่มีเปลือก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
งดนํ้ามันมะพร้าว นํ้ามันปาล์ม
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไข่แดง
ใช้นํ้ามันในการปรุงอาหารแต่พอควร และเลือกใช้นํ้ามันที่มีสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัว
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ช่วยผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพื่อการอยู่รอดของชีวิต
การใช้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Parenteral Nutrition)
รับอาหารทาง Enteral route ได้หรือได้ไม่เพียงพอจึงจำเป็นต้องให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
Carbohydrate
ความเข้มข้นสูงจะทำให้เกิดภาวะ Hyperglycemia
Protein
Mixed amino
High branched-chain amino acids formula
Essential amino acids formula
โดยปกติไม่ได้ผสมในสารละลายที่ให้ทางเลือดเลือดดำ
แหล่งพลังงานโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี glucose intolerance
Lipid
Multivitamin
Parenteral Additive
สารอื่นที่ไม่ใช่สารอาหารที่เติมลงไปใน TPN
การผสมวิตามินและแร่ธาตุๆควรผสมในขวด/bag ที่เป็น Carbohydrate ยกเว้นในกรณีของ Vitalipid
ส่วนใหญ่เป็นไขมันที่ได้จากถั่วเหลือง
(Peripheral Parenteral Nutrition (PPN))
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral vein)
(Total Parenteral Nutrition(TPN))
การให้อาหารทางเส้นเลือดดำใหญ่
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาในโรงพยาบาล
อาหารบำบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค
อาหารลดโซเดียม (Low Sodium diet) อาหารอ่อนลดโซเดียม
อาหารลดไขมัน(Low fat diet)ต้องการลดนํ้าหนัก
อาหารลดโคเลสเตอรอล(Low cholesterol diet) โคเลสเตอรอลสูง
อาหารเบาหวาน(diabetes mellitus diet)
อาหารดัดแปลงโปรตีน(Protein modified diet)
อาหารดัดแปลงพลัง(energy modified diet
อาหารทางสายให้อาหาร (tube feeding diet)
สูตรอาหารปั่นผสม
อาหารทางสายให้อาหารสูตรนี้ มักจะเตรียมให้ผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่
สูตรอาหารสำเร็จรูป (Commercial formula) อาหารชนิดนี้เป็นอาหารที่มีสูตรเฉพาะ
โรคอ้วน
โรคที่เกิดจากร่างกายมีการสะสมเนื้อเยื่อไขมันมากกว่าเกณฑ์ปกติ
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานตํ่า ไขมันตํ่า หวานน้อย ใยอาหารสูง
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง
เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันตํ่า คลอเลสเตอรอลตํ่า
เลือกดื่ม ชา กาแฟ ที่ไม่ใส่นํ้าตาล ใส่นํ้าตาลเทียมแทน
หลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันทรานซ์ เพิ่มไขมันเลว(LDL-chol)แฝงอยู่ในขนมเบเกอรรี่
จานอาหารสุขภาพ (food plate model)
หลักการกำหนดสัดส่วนอาหารในอัตราส่วน 2:1:1 โดยการแบ่งอาหารในจานออกเป็น 4 ส่วน
โรคความดันโลหิตสูง
ความดันสูง 140/90มิลลิเมตรปรอท
ควบคุมนํ้าหนัก พบว่า คนที่นํ้าหนักเกินปกติเกินปกติ
ความดันปกติ 120/80 มิลลิเมตรปรอท
ลดการบริโภคโซเดียม เกลือ อาหารรสเค็ม
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารหมักดองรสเค็ม
ลดการใช้เครื่องปรุงในอาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป
ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีนํ้าจิ้ม
หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย ที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ หรือสมุนไพร
งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
งดบุหรี่ และเครื่องแอลกอฮอล์
ควรออกกำลังกายอย่างสมํ่าเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย
โรคมะเร็ง
อาหารเผ็ด อาหารอาหารที่เพิ่งปรุงรสเสร็จกำลังร้อนจัด
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัด
อาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทำให้เจ็บเวลาเคี้ยว
ปัญหาการกิน
ผู้ป่วยโรคมะเร็งบริเวณศีรษะ ลำคอ หลอดอาหารกระเพาะอาหาร
ไม่สามารถรับอาหารทางปากหรือทาง Enteral Feeding ได้
โภชนบำบัดโรคมะเร็ง
รับประทานผลไม้ที่มีกาใยอาหาร
โปรตีนสูง ในวันหนึ่งควรกินโปรตีนประมาณ 50-80 กรัม
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก