Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การจัดการระเบียบวินัยในโรงเรียน, นางสาวรอฮานา จารู…
บทที่ 9
การจัดการระเบียบวินัยในโรงเรียน
การระบุปัญหาด้านระเบียบวินัย
ความหมาย
ระเบียบวินัยหมายถึง การฝึกอบรมที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการสร้างระเบียบวินัย
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ
เพื่อช่วยให้มีความเชื่อมั่นและเติบโตขึ้นเปนคนที่มีความคิด
ปัญหาระดับโรงเรียน
เช่น นักเรียนหญิงสวมเครื่องประดับมีค่ามาโรงเรียน
ปัญหาระดับชั้นเรียน
มีการพูดคุยในห้องเรียน เป็นการรบกวนการสอน
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมระดับชั้นเรียน
ระดับชั้นเรียน
ได้แก่ การก่อกวนการเรียนการสอน
ได้แก่ การไม่ตั้งใฟัง
ได้แก่ การลืมหนังสือมาเรียน
ได้แก่ การไม่ทำงาน
ได้แก่ การใช้คำหยาบในชั้นเรียน
ระดับโรงเรียน
ได้แก่ ความไม่ตรงต่อเวลา
ได้แก่ การใช้ยาเสพติด
ได้แก่ กรทำลานสมบัติของห้องเรียน
ได้แก่ การลักขโมย
ได้แก่ การประพฤติผิดทางเพศ
พฤติกรรมจะกลายเป็นปัญหาด้านระเบียบวินัยเมื่อใด
หากครูเพิกเฉย เรื่องจะบานปลาย
ปัญหาด้านระเบียบวินัยที่พบในโรงเรียน
จากรายงานโดยสหภาพรูชาวสิงคโปร์ 2538
ปัญหา 5 ประการ
การแสดงอาการต่อต้านในชั้นเรียน
การใช้ภาษาที่หยาบคาย
การเล่นพนันในอาคารเรียน
การประพฤติไม่สุภาพกับครู
การมาโรงเรียนสาย
ระดับประถมศึกษา
กระทำผิดร้ายแรง
การขาดเรียนโดยไม่มีสาเหตุ
การรังแกเพื่อน
การทำงานทรัพย์สินส่วนรวม
กระทำผิดเล็กน้อย
การออกมาเดินระหว่างคาบเรียน
การทิ้งขยะเกลื่อนกลาด
การวิ่งเล่นบนระเบียง
ระดับมัธยมศึกษา
กระทำผิดเล็กน้อย
การไม่ทำงาน
ไม่นำหนังสือมาเรียน
มาเรียนสาย
กาะทำผิดร้ายแรง
การเล่นพนัน
การมีเพศสัมพันธ์
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
สาเหตุของปัญหาด้านระเบียบวินัย
โรงเรียน
ระเบียบวินัยที่บีบบังคับผู้เรียนเกินไป
การเรียนรู้
เรียนตามเพื่อนไม่ทัน
สังคม
เพื่อนอันธพาล
ครู
แผนการสอนที่ไม่เพียงพอ
ขาดการเตรียมสื่อการสอน
การสื่อสาร
ครอบครัว
การหย่าร้าง
ขาดความอบอุ่นในบ้าน
สัญญาณของการเกิดปัญหาด้านระเบียบวินัย
การขัดขืน
การโกหก
การสบถ
ความก้าวร้าว
ดารต่อต้านครู
การไม่เคารพกฎของโรงเรียน
การจัดการกับปัญหา
ระดับห้องเรียน
ใช้วิธีการส่งสายตาปรามผู้เรียน
ใช้สัญญาณมือ
เดินเข้าไปตบไหล่
ระดับโรงเรียน
การวางแผน
พัฒนาโครงสร้างการจัดการ
สอดส่องดูแลและทบทวน
นำมาใช้ในการจัดการ
การรับมือกับปัญหาด้านระเบียบวินัย
ระดับประถม
โปรแกรมจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management Program-CMP)
เพื่อตัดปัญหาด้านระเบียบวินัยตั้งแต่แรกเริ่ม
การทำสนธิสัญญาผู้จัดการความขัดแย้ง
ระดับมัธยม
โปรแกรมวัดผลจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน
คณะกรรมการสอดส่องดูแลให้คำแนะนำ
มาตรการไม่รุนแรง
เช่นการให้คำปรึกษา
ระบบหัวหน้าผู้เรียน
คอยช่วยเหลือครูที่ปรึกษา
มีหน้าประสานงานกับครู
บันทึกรายงานผลไปยังผู้ปกครอง
ให้สติ้กเกอร์เป็นรางวัลสร้างแรงจูงใจ
แรงกดดันจากคนรอบข้าง
แรงกดดัน
ทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน
กำลังใจ
ช่วยลดนิสัยไม่ดีลงได้
เช่นการสูบบุหรี่
เช่นการลักขโมย
การก่อความสงบในชั้นเรียนอย่างไม่คาดคิด
ครูจะต้องใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้เรียนหยุดความวุ่นวาย
ข้อแนะนำสำหรับครูมือใหม่
ครูต้องมีความยืดหยุ่นในการสอน .3
อย่าเข้าไปพัวพันเรื่องส่วนตัว .4
อย่าปล่อยให้ตัวครูตกอยู่ในสถานการณ์ที่ครูกลายเป็นผู้แพ้ .2
เรียนรู้จากครูท่านอื่นที่มีประสบการณ์ในโรงเรียน .5
ครูต้องใช้ความนิ่งเข้าสงบ .1
ครูจะต้องจริงใจและยุติธรรมต่อผู้เรียน .6
อุปสรรคในการจัดการกับปัญหาด้านระเบียบวินัย
ความยากลำบากในการขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง
นางสาวรอฮานา จารู เลขที่ 7
รหัสนักศึกษา 6120160443