Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาววะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์ ในไตรมาสที่ 2 - Coggle Diagram
ภาววะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์ ในไตรมาสที่ 2
ท้องอืด(Flatulence)
อาการ
ลมแน่นในท้อง
อึดอัด
ผายลม(Flatulence)หรือเรอ
สำเหตุ
เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนมีระดับสูงขึ้น ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวและบีบตัวได้ช้าลง แบคทีเรียในลำไส้จึงย่อยกากอาหารเหล่านั้นจนเกิด
แก๊สคั่งค้างในลำไส้จำนวนมาก
การกินอาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร เช่น นม ถั่ว
ข้าวโพด กะหล่ำปลี หัวหอม ผักกาด น้ำพอัดลม เป็นต้น
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการกินอาหารประเภทไขมัน และอาหารที่ ทำให้เกิดแก๊สในลำไส้
กินอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้งขึ้น และเคี้ยวให้ละเอียด
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เช่น เดินช้าๆ สบายๆ วันละ 20-30 นาที เพื่อกระตุ้นให้ลำไส้บีบตัวดีขึ้น
ปวด ชาฝ่ามือและนิ้วมือ(Carpal tunnel syndrome)
อาการ
เจ็บและชาบริเวณข้อมือและนิ้วมือ
ชา หรือเจ็บยิบๆ ที่ฝ่ามือ หรือนิ้วมือ
มักมีอาการตอนกลางคืน
และตอนเช้า
สาเหตุ
Ulnar และ median nerve ถูกดึงรั้ง
เกิดจากการบวมของเนื้อเยื่อพังผืดที่ข้อมือแล้วไปบีบรัดเส้นประสาทที่ทอดผ่านจากแขนไปสู่นิ้วมือ ทำให้เกิดอาการชาบริเวณปลายประสาท
เส้นประสาทที่รักแร้ถูกกด เพราะน้ำหนักของมดลูกและเต้านมที่โตขึ้นขณะ
ตั้งครรภ์ ไปดึงรั้งรักแร้หรือไหล่ให้กดเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงแขนและมือ
คำแนะนำ
แช่มือด้วยน้ำอุ่น เพื่อให้การไหลเวียนของเลือดที่ฝ่ามือดีขึ้น
นวดข้อมือและฝ่ามือบ่อยๆ ขยับนิ้วมือขึ้นลง หรือ กางนิ้วมือออกกว้างๆ ค้างไว้2-3 วินาทีแล้วหุบนิ้วมือ
ขณะนอนควรวางมือบนหมอนให้สูงจากที่นอนเล็กน้อย จะช่วยลดอาการข้อมือบวม และไม่นอนทับแขน
ริดสีดวงทวาร(Hemorrhoids)
อาการ
ปวดมากและอาจมีเลือดสดๆ ออกเป็น
หยดๆ ขณะเบ่งถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ
การกดทับเส้นเลือด iliac veis และ inferior vena cava ของมดลูก
ท้องผูกเป็นประจำ
น้ำหนักของลูกน้อยในครรภ์ที่โตขึ้นเรื่อยๆ จะกดลงบริเวณอุ้งเชิงกราน
คำแนะนำ
ระวังอย่าให้ท้องผูก กินอาหารที่มีกากใย ผัก ผลไม้
ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาทุกวัน ไม่นั่งเบ่งอุจจาระนาน
ถ้ามีหัวริดสีดวงโผล่ออกมาให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่นประมาณ 15 นาที แล้วใช้นิ้วมือค่อยๆ ดันกลับ
นอนในท่าหงายชันเข่า ประมาณ 15 นาทีทุกวัน
บริหารด้วยการขมิบกล้ามเนื้อบริเวณอวัยวะเพศ
หลีกเลี่ยงการยกของหนักเพราะจะไปเพิ่มความดันภายในช่องท้อง
แสบร้อนยอดอกหรือกรดไหลย้อน(Heart burn)
อาการ
แสบร้อนหรือจุกเสียดยอดอก
แสบร้อนที่หลอดอาหารและอาจ
ร้าวไปที่ยอดอกและลำคอ
รู้สึกขมในปากและลำคอ
สาเหตุ
เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ไปลดการทำงานของระบบทางเดินอาหาร
กล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารคลายตัว กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไประคาย
เคืองเยื่อบุในหลอดอาหาร
มดลูกจะดันกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก ทำให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กไหลย้อนเข้าไปในหลอดอาหารได้ง่ายขึ้น
มักเกิดร่วมกับอาการคลื่นไส้ อาเจียน ความเครียด
และสภาพอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง
คำแนะนำ
นั่งหรือเดินเล่นหลังกินอาหาร และไม่นอนราบ หรือนั่งหลังงอหลังกินอาหารทันที
หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัดและอาหารที่ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร เช่น
ถั่ว ข้าวโพด กะหล่ำปลี หัวหอม
กินอาหารช้าๆ ครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำมากๆ ระหว่างกินอาหาร
หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีไขมัน เพราะย่อยยากและจะไปกระตุ้นการหลั่งกรด
ในกระเพาะอาหาร
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำหรือกินอาหาร 1-2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
หลีกเลี่ยงการกินผลไม้ ดื่มน้ำผลไม้รสเปรี้ยว หรืออาหารที่เผ็ดร้อน
เหงือกอักเสบ(Gingivitis)
อาการ
เหงือกบวม
เลือดออกง่ายเวลาแปรงฟัน
สาเหตุ
การกระตุ้นของฮอร์โมนเอสโตรเจน
มีเลือดมาเลี้ยงมากและคั่งอยู่บริเวณเหงือก
คำแนะนำ
ใช้แปรงสีฟันที่มีขนอ่อนนุ่มเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดแผล
หรือรอยขีดข่วนที่เหงือก
หากมีเศษอาหารติดตามซอกฟันให้ใช้ไหมขัดฟันเอาเศษอาหารออกอย่างเบามือ
แทนการใช้ไม้จิ้มฟัน
กินอาหารที่ได้สัดส่วน เพิ่มอาหารโปรตีน ผักและผลไม้
พบทันตแพทย์เพื่อเช็คสุขภาพปากและฟัน
อารมณ์แปรปรวน (Mood swing)
อาการ
มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
อาจรู้สึกดีใจ อยู่ดีๆ ก็หงุดหงิด
อารมณ์เสีย
น้อยใจกับเรื่องเล็กน้อย บางครั้งก็รู้สึกเศร้าๆ โดยไม่มีเหตุผล
สาเหตุ
กระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีสูงขึ้น ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละช่วงของการตั้งครรภ
ความเครียด
คำแนะนำ
คนใกล้ชิดต้องเข้าใจสาเหตุและอารมณ์ของมารดาตั้งครรภ์ที่
เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นการเตรียมพร้อมที่ดีในการรับมือกับอารมณ์ต่างๆอย่างรู้เท่าทัน
ผ่อนคลายความตึงเครียดบ้าง เช่น ฟังเพลงสบายๆ อ่านหนังสือที่ชอบ ดูหนัง
สนุกๆ หางานอดิเรกท าให้เพลิดเพลิน
ออกกำลังกายเบาๆ หรือ การนั่งสมาธิเพื่อจิตทำจิตใจให้สงบและผ่อนคลาย
ทำกิจกรรมนอกบ้านเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศไม่ให้รู้สึกซ้ำซาก จำเจ
อาการใจสั่น เป็นลม (Tachycardia, Fainting and Supine Hypotension)
อาการ
เวียนศีรษะ
หน้ามืดบ่อย
ในสั่น ไม่สุขสบาย
สาเหตุ
ปริมาตรโลหิตเพิ่มขึ้นทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ออกซิเจนจึงไปเลี้ยงสมองได้น้อยลง
อากาศร้อนทำให้หลอดเลือดขยายตัว จนเกิดความ ดันโลหิตต่ำทำให้เลือดไป
เลี้ยงสมองไม่เพียงพอจึงเกิดอาการหน้ามืด
การนอนหงายราบกับพื้น ทำให้น้ าหนักของมดลูกกดทับบนหลอดเลือดบริเวณหลัง
มีผลให้เลือดกลับเข้าสู่หัวใจ และไปเลี้ยงสมองน้อยลง
การเปลี่ยนอิริยาบถรวดเร็วเกินไป
คำแนะนำ
กินยาบำรุงเลือดตามที่คุณหมอจัดให้
เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงการนอนหงายเป็นเวลานาน ควรนอนตะแคง
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด อากาศร้อน ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ เช่น ตะแคงตัวก่อนลุกจากที่นอน นั่งสักพักก่อนลุกยืน
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ ขณะมีอาการหน้ามืด เวียนศีรษ
อาการท้องผูก (Constipation)
อาาการ
มีลมแน่นในท้อง
มักพบร่วมกับท้องอืด
แน่นอึดอัดท้อง
จุกเสียดแสบ
ร้อนยอดอกเพราะกรดไหลย้อนร่วมด้วย
เวลาอุจาระต้องใช้เเรงเบ่งเยอะ
สาเหตุ
เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ทไให้ลำไส้เคลื่อนไหวและบีบตัวเพื่อขับกากอุจจาระออกจากร่างกายได้ช้าลง อุจจาระที่ค้างในลำไส้นานจะถูกดูดซึมน้ำออกไปมากจนกลายเป็นก้อนแข็ง
มดลูกมีขนาดโตขึ้น ไปกดหรือเบียดลำไส้ ทำให้กากอาหารผ่านได้ยากขึ้น
กินผัก ผลไม้ หรืออาหารที่มีกากใยน้อย หรือ ดื่มน้ำน้อย
ผลของยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก หากกินแล้วท้องผูก อุจจาระแข็ง ต้องแจ้งให้คุณหมอทราบ ห้ามหยุดกินยาเองเป็นอันขาด
ไม่ออกกำลังกาย
คำแนะนำ
กินอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ และดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
ฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา ในตอนเช้าถ้ายังไม่รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ ควรดื่มน้ าอุ่นนมอุ่นๆ น้ำส้ม น้ำมะเขือเทศ หรือน้ำมะนาว จะช่วยให้รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ
อุจจาระทันทีที่รู้สึกปวด ไม่กลั้นอุจจาระ
ออกกำลังกายทุกวัน เช่น เดิน ว่ายน้ำ ออกกำลังเบาๆ 20-30 นาทีต่อวัน