Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนากับจริยศาสตร์และวิชาชีพ - Coggle Diagram
ศาสนากับจริยศาสตร์และวิชาชีพ
การนำหลักศาสนามาใช้ในการพยาบาล
ประการแรก
ศาสนาพุทธ : รูปแบบการไต่ตรองด้วยเหตุผล(Argumentative model)
ศาสนาคริสต์ : รูปแบบการชี้นำ (Suggestive model)
ศาสนาอิสลาม : รูปแบบกฎหมาย (Legislative model)
ประการสอง
หลักศีลธรรมเป็นแม่แบบจริยธรรมของศาสนา เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ รวมถึงทัศนคติของบุคคลที่มีต่อชีวิต การเข้าใจเรื่องเหล่านี้จะทำให้พยาบาลสามารถปลอบใจผู้ป่วยแต่ละคนตามความเชื่อของแต่ละคน
ศาสนาพุทธกับวิชาชีพการพยาบาล
1.พรหมวิหาร 4 (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา)
2.อิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา)
3.อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย มรรค นิโรจ)
ศาสนาคริสต์กับวิชาชีพการพยาบาล
ชีวิตมนุษย์ ความเป็นความตายเป็นไปตามพระประสงค์ของพระเจ้า
การฆ่าตัวตายเป็นบาป
แพทย์ พยาบาลพึงทำหน้าที่ของตนในการรักษาชีวิตมนุษย์ และต้องเป็นไปตามปกติ
ผู้ป่วยพึงอดทนต่อความเจ็บป่วย
เมื่อป่วยไข้พระเจ้าจะคุ้มครอง
ให้คุณค่าและเคารพต่อชีวิตมนุษย์
ศาสนาอิสลามกับวิชาชีพการพยาบาล
ชีวิตมนุษย์ ความเป็นความตายเป็นไปตามพระประสงค์ของอัลลอฮ
การทำลายชีวิตมนุษย์ และฆ่าตัวตายเป็นบาป
แพทย์ พยาบาลพึงทำหน้าที่ของตนในการรักษาชีวิตมนุษย์
และต้องเป็นไปตามปกติ
การดูแลร่างกายกับการกับการช่วยด้านจิตใจสงบมีความสำคัญเท่าเทียมกัน
ความสัมพันธ์ของศาสนากับจริยศาสตร์
ศาสนาพุทธกับจริยศาสตร์
เป้าหมายสูงสุด(โลกียะ) เข้าใจเรื่องทุกข์ เอาชนะความทุกข์
เป้าหมายสูงสุด(โลกุตระ)ดับกิเลส รู้แจ้ง นิพพาน
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาตามหลักวิทยาศาสตร์ ยึดเหตุผล เข้าใจการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และการมีสติ
ศาสนาอิสลามกับจริยศาสตร์
มีความเชื่อหลักนิติธรรม เรียกว่า Legislative model
ศาสนาคริสต์กับจริยศาสตร์
เป็นศาสนาเกี่ยวกับความเชื่อ ความรัก ความศรัทธา เรียกว่า Suggestive model
ศาสนาซิกส์กับวิชาชีพการพยาบาล
ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นสิ่งเดียวกันในการดำเนินชีวิตและกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันของวิถีชีวิตชาวซิกต์
ความเชื่อและการปฏิบัติเป็นเนื้อเดียวกัน
การจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศบนหอผู้ป่วยให้เหมือนกับบ้านตนเอง
เรียกผู้ป่วยเหมือนเรียกคนในครอบครัว ว่าคุณยายหรือคุณย่า