Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7การดำเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง, นางสาวนิภาดา ตะมอตำ…
บทที่ 7การดำเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เหตุผลใดจึงต้องใช้วิธีการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ใช้สื่อการเรียนที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้จุดแข็งและจัดอ่อนของตอเอง
มีกลยุทธ์ในการเรียนที่เปิดกว้าวงและรู้ว่าควรจะนำกลยุทธ์เหล่านั้นมาใช้เมื่อใด
มีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง
มีจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
มีความสามารถในการวางแผน สำรวจ ประเมินค่าและปรับกระบวนการเรียนรู้ได้
การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สภาพแวดล้อมของการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การประดิษฐ์ชิ้นงานของผู้เรียน
กิจกรรมส่งเสริมการคิด
การค้นพบสติปัญญาของตนเอง
กิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือ
ความหมาย
การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ครูสามารถช่วยให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ตัวอย่างเฉพาะของกิจกรรมสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสร้างศูนย์การเรียนรู้
การอภิปรายกลุ๋ม
ตั้งกฎเกณฑ์ทั่วไป
จำกัดขนาดของกลุ่มเป็น 4 - 5 คน
กำหนดบทบาทในกลุ่มเช่น ผู้นำ ผู้บันทึก ผู้ซักถาม
การทำโครงงาน
วิธีดำเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนเฉพาะบุคคล
การให้ผู้เรียนแต่ละคนทำงานของตนเอง
การเรียนเป็นรายบุคคล
ครูต้องให้ความรู้และออกแบบการสอนให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
การเรียนเป็นกลุ่ม
การให้ผู้เรียนจับกลุ่มกันทำงานเช่น การอภิปรายกลุ่มและการทำโครงงาน
การใช้วิธีการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในชั้นเรียน
ขั้นวางแผน
การเรียนเฉพาะบุคคล
รู้ความสามารถ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
วางแผนและกำหนดเป้าหมายให้แก่ผู้เรียน
ออกแบบการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสในการเรียนให้หลากหลาย
ปรับขอบเขตของบทเรียนและหัวข้อที่จะสอน
การตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดและอภิปรายร่วมกับเพื่อน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พูดบ้าง
ให้ผู้เรียนจับคู่ถามและแลกเปลี่ยนความรู้กับคู่ของผู้เรียน
สรุปความคิดเห็นของครูก่อนจะให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
จับกลุ่ม 4 - 6 คน กำหนดหมายเลขของแต่ละคน
จับกลุ่ม 3 คนให้สมาชิกคนหนึ่งไปสังเกตการณ์กลุ่มอื่นแล้วให้นำแนวคิดกลับมาเข้ากลุ่มเดิม
ตั้งคำถามแก่สมาชิกในกลุ่มโดยเรียนให้ตอบตามหมายเลขที่กำหนดไว้
ตั้งโจทย์ปัญหาขึ้นมา 1 ข้อ กลุ่มผู้เรียน 2 - 4 คนเพื่อให้วางแผน
การเรียนเป็นรายบุคคล
รู้ความสามารถ ไหวพริบและเจตคติของผู้เรียน
วางแผนการเรียนเป็นรายบุคคล
ออกแบบงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนทำอย่างเหมาะสม
การเรียนเป็นกลุ่ม
วางแผนการทำงานของผู้เรียนระหว่างการทำงานเป็นกลุ่ม
วางแผนกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
กำหนดบทบาทสมมุติ
กำหนดขอบเขตของกิจกรรมกลุ่ม
ตั้งกฎเกณฑ์สำหรับกลุุมขึ้นสัก 2-3 ข้อ
กำหนดเวลาในการทำกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
สร้างความมั่นใจในการจับกลุ่มของผู้เรียน
เตรียมการสอนที่ชัดเจนและถูกต้องแก่ผู้เรียน
รู้ความประพฤติ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
กำหนดเวลาในการนำเสนอพร้อมทั้งมีช่วงเวลาสำหรับการตั้งคำถามและให้ผู้เรียน
ทบทวนการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการประเมิน
วางแผนกิจกรรมขั้นต่อไป
ขั้นดำเนินการ
การเรียนเป็นรายบุคคล
การเรียนเฉพาะบุคคล
การเรียนเป็นกลุ่ม
ขั้นประเมินผล
เป็นสิ่งที่ครูสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียนแต่ละคนได้
คำแนะนำสำหรับการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สร้างบรรยากาศแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจในชั้นเรียน
ไม่ขัดขวางกระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียน
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องการเรียนของผู้เรียน
ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักนับถือความสามารถของตนเอง
พยายามทำความเข้าใจกับความการ การตอบสนอง ความคิดและความรู้สึกของผู้เรียน
ประเภทและกิจกรรมสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนเป็นรายบุคคล
การใช้บทเรียนแบบ e -lessons การจัดกลุ่มการเรียนรู้และการมอบหมายงานที่แตกต่างกัน
การเรียนเฉพาะบุคคล
งานหรือโครงงานที่ทำให้ผู้เรียนรู้จักคิดเริ่มด้วยตนเอง
การเรียนเป็นกลุ่ม
การอภิปายกลุ่ม
นางสาวนิภาดา ตะมอตำ เลขที่ 27 รหัส 6120160468