Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร - Coggle Diagram
องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร
ความหมาย
การนำกระบวนการบริหารโดยอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการบริหารงานมาใช้กับระบบการบริการพยาบาลเพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component)
ปัจจัยการบริหาร (Factor of Management)
วัสดุอุปกรณ์ (Materials)
เงิน หรือ งบประมาณ (Money)
เทคนิควิธี (Method)
คน หรือ บุคลากร (Man)
เครื่องมือ (Machine)
ลักษณะของการบริหาร (Management Style)
เป้าหมาย (Goal)
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
ความหมาย
ภารกิจหรือบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารเป็นสิ่งที่ต้องยึดถือเป็นจุดยืนสำหรับปฏิบัติกิจกรรมในการบริหารงานซึ่งเป็นลำดับขั้นในการบริหารงาน หรือ หมายถึงขอบข่ายของงานต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหาร
การจำแนกหน้าที่การบริหารของผู้บริหาร
เฮนรี่ ฟาโย (Henri Fayol) จำแนกหน้าที่ของนักบริหารเอาไว้ 5 ประการหรือที่เรียกว่า หลักการบริหารแบบ POCCC
P คือ Planning หมายถึง การวางแผน
O คือ Organizing หมายถึง การจัดการองค์การ
C คือ Commanding หมายถึง การบังคับบัญชา
C คือ Co-ordinating หมายถึง การประสานงาน
C คือ Controlling หมายถึง การควบคุม
ลูเธอร์ กูลลิค (Luther Gulick) จำแนกหน้าที่ของการบริการเอาไว้ 7 ประการ ที่เรียกว่าเป็นแบบการบริหาร คือ "POSDCoRB"
P คือ Planning หมายถึง การวางแผน
O คือ Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S คือ Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าท างาน
D คือ Directing หมายถึง การสั่งการ
Co คือ Co-ordination หมายถึง การประสานงาน
R คือ Reporting หมายถึง การรายงาน
B คือ Budgeting หมายถึง การจัดท างบประมาณ
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
การอำนวยการ (Directing)
ความหมาย
การ นำชี้แนะ จูงใจ ให้ผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ
กระบวนการอำนวยการ (directing)
จัดให้มีการประสานงานในสายงานการปกครองบังคับบัญชา
จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
มอบอำนาจหน้าที่ กระจายอำนาจหรือรวมอำนาจ
การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
รูปแบบการสั่งการ
แบบอาสาสมัคร (Volunteer)
แบบเสนอแนะ (Suggest)
แบบขอร้อง (Request)
แบบออกคำสั่งโดยตรง (Demand or Direct)
การประสานงาน (Co- ordinating)
ความหมาย
การจัดระเบียบวิธีในการทำงาน การติดต่อสื่อสารให้เกิดความคิด ความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงาน ไม่ทำให้งานซ้อน ขัดแย้ง หรือเหลื่อมล้ำกัน ทั้งนี้เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างราบรื่น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และนโยบายขององค์การนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของการประสานงาน
จังหวะเวลา
ความสอดคล้อง
ความร่วมมือ
ระบบการสื่อสาร
ผู้ประสานงาน
วิธีประสานงาน
การประสานงานภายในองค์การ
ทีมสุขภาพ
ทีมการพยาบาล
การประสานงานระหว่างองค์การ
ลักษณะการประสานงาน
การประสานงานอย่างเป็นทางการ
การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
เต็มใจที่จะติดต่อกับผู้อื่นก่อน
แสดงความมีน้ำใจต่อผู้อื่นก่อน สร้างสัมพันธ์ที่ดี มีความไว้วางใจกัน
ฟังผู้อื่นพูดให้มาก
หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง
ซักซ้อมการทำงานให้เข้าใจวัตถุประสงค์ตรงกัน
ทำความเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติ
เสริมสร้างมิตรไมตรี และความเป็นกันเอง
ติดต่อตามสายงาน และช่องทางการสื่อสารที่ถูกต้อง
จะต้องประสานวัตถุประสงค์และนโยบายตามแผนงาน
ปัญหาและอุปสรรคในการประสานงาน
รับ-ส่ง ข้อมูลผิดพลาด
เพิกเฉยและหลงลืม
ไม่ได้รับความร่วมมือ
ให้ข้อมูลล่าช้าเกินไป
การจัดองค์กร (organizing)
ความหมาย
กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดำเนินการหรือประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
องค์กรในโรงพยาบาล
องค์การแพทย์ (Medical Department)
องค์การพยาบาล (Nursing Department)
องค์การอื่น ๆ (Other Department ) เช่น Laboratory,Radiography, Physiotherapy
องค์การบริหารงานทั่วไป (Administrative and LayDepartment)
กระบวนการจัดองค์การ (organizing)
จัดวางความสัมพันธ์
พิจารณาแยกประเภทงาน
ทำคำบรรยายลักษณะงาน
การควบคุม (controlling)
ความหมาย
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะการควบคุมงาน
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายนอก
ขั้นตอนการควบคุมงาน
กำหนดเป้าหมายของการควบคุมงาน
กำหนดเกณฑ์และมาตรฐานในการควบคุมงาน
3.เปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนดไว้
4.ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ประโยชน์การควบคุม (controlling)
ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน
ทำงานมีประสิทธิภาพ ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน
ค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง
ปัญหาในการการควบคุม
จัดระบบงานไม่ดี
หัวหน้างานไม่เห็นความสำคัญ
ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน
ไม่มีหลักเกณฑ์และมาตรฐานการควบคุม
กระบวนการวางแผน (Planning)
ความหมาย
การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ในการตั้งเป้าหมายโดยการกำหนดวิธีการและขึ้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ก่อนลงมือปฏิบัติงานเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ
ความสำคัญของการวางแผน
ประหยัดทรัพยากรและแรงงาน
การปฏิบัติตามแผน ทำงานได้เร็ว ลดความผิดพลาด
การคาดการณ์ล่วงหน้า เผชิญปัญหาอุปสรรค
ช่วยให้กระบวนการบริหารเป็นไปอย่างเหมาะสม
พัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติตามแผน เข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ลดความซ้ำซ้อนของงาน
ประเภทของแผน
แผนตามระยะเวลา (Time dimension)
แผนระยะกลาง (Median term plan ) 5 – 10 ปี
แผนพัฒนาบุคลากร
แผนระยะยาว (Long term plan ) 10 ปี
แผนพัฒนาประเทศ
แผนระยะสั้น (Short term plan) 1 - 3 ปี
แผนปฏิบัติงานประจำวัน
แผนฉุกเฉิน ความจำเป็น
แผนโดยจำแนกตามลำดับขั้นขององค์กร
แผนกลยุทธ์ (Strategic planning)
แผนโครงการ (Project planning)
แผนปฏิบัติการ (Operational planning)
กระบวนการวางแผน (planning process)
กำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
2.รวบรวมข้อมูล (Collecting data)
วางแผน (Planning)
ดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan)
ติดตามและปรับปรุงแผน (Monitoring of the plan)