Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและกระบวนการบริหารการพยาบาล, นางสาวพิยะดา พันแสง เลขที่ 122…
องค์ประกอบและกระบวนการบริหารการพยาบาล
องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component)
การบริหารมีองค์ประกอบ ๓ ประการ
มีเป้าหมาย (Goal) หรือวัตถุประสงค์ที่แน่นอนในการบริหารองค์การ
ผู้บริหารจะต้องมีการกำหนดทิศทางหรือวัตถุประสงค์ของการทำงานไว้ชัดเจน
มีปัจจัยในการบริหาร (Factor of Management) โดยทั่วไปแล้วปัจจัยในการบริหารที่เป็นพื้นฐานมี 5 ประการ คือ คน หรือ บุคลากร (Man)
เงิน หรือ งบประมาณ (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Materials) เทคนิควิธี (Method) เครื่องมือ (Machine)
3.ลักษณะของการบริหาร (Management Style) การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และทั้งศิลป์ที่ผู้บริหารจะต้องนามาประยุกต์ใช้ในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กร จนมีคำกล่าวที่ว่า “ที่ใดมีผู้นำที่ดี ที่นั่นก็จะมีความสาเร็จ”
กระบวนการวางแผน (Planning)
การใช้ความรู้และวิจารณญาณในการตั้งเป้าหมายของการทำงานโดยกำหนดกลวิธีและขั้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้งานประสบผลสาเร็จตามที่ต้องการ
ความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องวางแผน
3.ช่วยให้คาดการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง สามารถเผชิญกับปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
ช่วยให้การอำนวยการ การมอบหมายงาน การประสานงาน และการควบคุมประเมินผลเป็นไปได้อย่างเหมาะสม
5.ช่วยในการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงาน
2.การปฏิบัติตามแผน ช่วยให้ปฏิบัติงานได้เร็ว และลดความผิดพลาดต่างๆได้
ช่วยประหยัดทรัพยากร เวลาและแรงงาน
ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของงานได้ดี
7.ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ลดการทำงานซ้าซ้อนรวมทั้งขจัดงานที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ออกไป
กระบวนการวางแผน (planning process) เป็นกระบวนการทางานที่เป็นระบบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้ประสบผลสาเร็จในอนาคต ภายใต้สภาพการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
การกำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
วัตถุประสงค์จะต้องเขียนในลักษณะผลลัพธ์ที่วัดได้
เพื่อสามาระใช้เป็นแนวทางสำหรับการประเมินผลต่อไป
2.การรวบรวมข้อมูล (Collecting data) วิเคราะห์ทางเลือก โดยพิจารณาข้อมูลจากหลายๆด้าน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการวางแผน
การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนการเสนอแผนให้ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบก่อนที่จะไปดำเนินการ
การดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan) เมื่อแผนได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการได้ ผู้วางแผนต้องจัดเตรียมแผนให้พร้อมสำหรับการดำเนินการ โดยจัดเรียงลำดับกิจกรรมต่างๆ
5.การติดตามและปรับปรุงแผน (Monitoring of the plan) เทคนิคในการดำเนินการและควบคุม ดังนี้ การจัดตารางการปฏิบัติงาน (schedules)เป็นวิธีการที่ง่ายในการจัดทำและกำกับติดตาม
การจัดองค์การ (Organizing)
องค์กรในโรงพยาบาล
องค์การแพทย์ (Medical Department)
องค์การพยาบาล (Nursing Department)
องค์การอื่น ๆ (Other Department )เช่น Laboratory, Radiography, Physiotherapy
องค์การบริหารงานทั่วไป(Administrative and Lay Department)
กระบวนการจัดองค์การ
1.จัดวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดโครงสร้างองค์การ
จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
4.มอบหมายการทางาน
จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่าง ๆ
6.มอบหมายงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ ความสามารถอย่างเหมาะสม นอกจากนั้น Robbins (1998) ยังได้เสนอแนวคิดว่า องค์ประกอบโครงสร้างองค์กรมี 3 ประการ ความซับซ้อน การสร้างแบบมาตรฐาน การรวมศูนย์อานาจ
การอำนวยการ (Directing)
กระบวนการอำนวยการ
จัดให้มีการประสานงาน ในสายงานการปกครอง บังคับบัญชา
จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร ออกคำสั่งด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
4.การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
ขอบเขตของการอำนวยการ
1.การสั่งการ
2.การคุมงาน
การติดตามงาน
รูปแบบการสั่งการ
แบบออกคำสั่งโดยตรงหรือการออกคำสั่ง (Demand or Direct) เป็นการสั่งการต้องการให้ผู้รับคำสั่งปฏิบัติทันที มักใช้ในกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
แบบขอร้อง (Request) เป็นการสั่งงานที่มีลักษณะโน้มเอียงไปทางขอความช่วยเหลือ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้รับมอบหมายงานได้มีโอกาสใช้ดุลยพินิจในการทางานบ้าง
3.แบบเสนอแนะ (Suggest) เป็นการสั่งงานในลักษณะที่ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความคิดริเริ่มในการทางาน
แบบอาสาสมัคร (Volunteer) เป็นการสั่งงานที่นอกเหนือจากหน้าที่จะต้องปฏิบัติเป็นงานที่อาศัยความเต็มใจ
การประสานงาน Co (Co-ordination)
การจัดระเบียบวิธีในการทำงาน เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานหรือในองค์การได้ร่วมมือกันปฏิบัติหน้าที่ได้ตามภาระงานของตนเอง โดยการจัดวางระเบียบการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อไม่ให้งานซ้าซ้อน ขัดแย้ง หรือเหลื่อมล้ากัน สิ่งที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดีคือ
การประสานงาน อาจกระทำได้เป็น ๒ ลักษณะ
1.การประสานงานอย่างเป็นทางการ หมายถึง การประสานงานแบบมีพิธีรี ตรองที่ต้องปฏิบัติ เช่น มีหนังสือติดต่อหรือแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร หรือเสนอรายงานเป็นลำดับชั้น
2.การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ หมายถึง การประสานงานแบบไม่มีพิธีรีตองเพียงแต่ทำความตกลงให้ทราบถึงการที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตามจังหวะเวลาเดียวกัน และด้วยจุดประสงค์เดียวกัน การดำเนินการต้องอาศัยความใกล้ชิดสนิทสนมเป็นส่วนตัว
วิธีประสานงาน
1.การประสานงานภายในองค์การ การประสานงานในทีมสุขภาพ
การประสานงานในทีมการพยาบาล
2.การประสานงานนอกองค์การ
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
มีแผนงานที่ดี มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน
มีความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อกันและต่องาน
ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกันมีการติดต่อสื่อสารที่ดี
4.มีการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ
5.ผู้บริหารหรือหัวหน้างานต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
ปัญหาและอุปสรรค์ในการประสานงาน
1.การจัดองค์การที่มีลักษณะซับซ้อนและเป็นองค์การที่ใหญ่มาก
การปฏิบัติงานที่ไม่มีแผน
3.การขาดมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
การมอบหมายงานที่ซ้าซ้อนและก้าวก่ายหน้าที่กัน
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน
ขาดการนิเทศที่ดี
สภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่แตกต่างกัน
การควบคุม (Controlling)
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะการควบคุมงาน
การควบคุมภายใน คือ การควบคุมการปฏิบัติงานที่จัดให้มีในหน่วยงานนั้นๆโดยอาศัยเทคนิค เครื่องมือ และวิธีการต่าง
การควบคุมภายนอก คือ วิธีการที่อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของหน่วยงาน แต่เป็นการควบคุมโดยผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลจากการดำเนินงานของหน่วยงาน
ประโยชน์การควบคุมงาน
ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน มีความรับผิดชอบ
ประสิทธิภาพการทำงานและการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน
เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง
นางสาวพิยะดา พันแสง เลขที่ 122 (603101123)