Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร - Coggle Diagram
บทที่2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร
องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component)
1.มีเป้าหมาย(goal)
2.มีปัจจัยในการบริหาร(factor of management)
คน หรือบุคลากร : การบริหารคนให้เหมาะสมและมีประสิธิภาพ
เงิน หรืองบประมาณ : การบริหารเงินให้น้อยและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
วัสดุอุปกรณ์ : ต้องพอใช้ ใช้ให้เกิดคุณภาพและสิ้นเปลืองน้อยที่สุด
เทคนิควิธี : เทคนิคที่สามารถสนับสนุนงานบริหารให้มีประสิทธิภาพ
เครื่องมือ : ดูประเภท ขนาด แบบ ที่เหมาะสมและทำให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ
3.ลักษณะของการบริหาร (management style) :ผู้บริหารจะต้องนำศาสตร์และศิลป์มาประยุกต์ เพื่อให้ได้สิ่งที่ดีที่สุด
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
งผู้บริหารเป็นสิ่งที่ต้องยึดถือเป็น จุดยืนสำหรับปฏิบัติกิจกรรมในการบริหารงาน
เฮนรี่ ฟาโย (Henri Fayol)
POCCC
1. Planning หมายถึง การวางแผน 2. Organizing หมายถึง การจัดการองค์การ 3. Commanding หมายถึง การบังคับบัญชา 4. Co-ordinating หมายถึง การประสานงาน 5. Controlling หมายถึง การควบคุม
ลูเธอร์ กูลลิค (Luther Gulick)
สาระสำคัญของแนวคิด คือ ประสิทธิภาพ
เพิ่มจาก เฮนรี่
POSDCoRB
1.Staffing หมายถึง การจัดการคนทำงาน 2.Directing หมายถึง การสั่งการ 3. Reporting หมายถึง การรายงาน 4.Budgeting หมายถึง กรจัดทำงบประมาณ
CHESTER BARNARD
เน้นความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) กระจายความพึงพอใจของบุคลากรในองค์การอย่างเท่าเทียมกัน
นักบริหารมี หน้าที่สำคัญ 1.ประสานงานในองค์การ 2.รักษาสมาชิกในองค์การและสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกใหม่ 3.กำหนดเป้าหมาย 4.ใช้ศิลปะในการทำงาน 5.ทำงานด้วยความรับผิดชอบ
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
ของ ฮาลอร์ดดี คูลย์ (Haroled D.Knootz)
1.กระบวนการวางแผน
การใช้ความรู้และวิจารณญาณในการตั้งเป้าหมาย เพื่อให้งานประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ
ความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องวางแผน
1.การประหยัดทรัพยาการ เวลาและแรงงาน 2.การปฏิบัติตามแผน 3.คาดการณ์ล่วงหน้า เผชิญอุปสรรคได้ 4.ช่วยในการมอบหมายงาน อำนวยการ ประสานงาน ควบคุมประเมินผล 5.พัฒนา ปรับปรุงงาน 6.ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจงานและวัตถุประสงค์ 7.ลดความซ้ำซ้อน
ประเภทของแผน
1.แผนระยะสั้น 1-3ปี
: กำหนดรายละเอียดของการทำงาน
2.แผนระยะกลาง 5-10 ปี
: วางเป้าหมายให้ครอบคลุม5ปี
3.แผนระยะยาว ใช้เวลา10ขึ้นไป
4.แผนฉุกเฉิน
: ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมความจำเป็น
5.แผนโดยจำแนกลำดับขั้นตอนการจัดการ
3อย่าง คือ แผนกลยุทธ์ แผนโครงการ แผนปฏิบัติการ
กระบวนการวางแผน (planning process)
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
1.กำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
: เขียนในลักษณะผลลัพธ์ที่วัดได้ เพื่อสามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับการประเมินผลต่อไป
2.การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
: เพื่อประกอบการตัดสินใจ
3.การวางแผน (Planning)
: เสนอแผนให้เลือกก่อนทำงาน
4.การดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan)
: เมื่อเสนอแผนผ่าน
5.การติดตามและปรับปรุงแผน (Monitoring of the plan)
2.การจัดการองค์การ
แบ่งงานหรือมอบหมายงาน การกำหนด ช่วงการบริหารหรือโครงสร้างขององค์การการกำหนดกลุ่มงาน การประสานงาน
การแบ่งงานหรือการมอบหมายงาน
2 อย่าง คือ 1.ความซับซ้อนของงาน 2.ความจำกัดของความรู้ในงานด้านต่าง ๆ บางงานต้องใช้ทักษะขั้นสูง
องค์กรในโรงพยาบาล
1.องค์การแพทย์ (Medical Department)
2.องค์การพยาบาล (Nursing Department)
3.องค์การอื่น ๆ (Other Department )
4.องค์การบริหารงานทั่วไป(Administrativeand Lay Department)
กระบวนการจัดองค์การ
1.จัดวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดโครงสร้างองค์การ
2.จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
3.ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
4.มอบหมายการทำงาน
5.จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่าง ๆ
6.ให้งานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ ความสามารถอย่างเหมาะสม
Robbins
องค์ประกอบโครงสร้างองค์กร
มี3ประการ
1.ความซับซ้อน
: การจำแนกงานต่างๆ
2.การสร้างแบบมาตรฐาน
: เพื่อควบคุมพฤติกรรม
3.การรวมศูนย์อำนาจ
: การมีอำนาจตัดสินใจต่างๆ
3.การอำนวยการ (Directing)
การสั่งการ การควบคุม การนิเทศ และการติดตามประเมินผล เพื่อให้งานดำเนินไปตามแผนที่กำหนดไว้ ผู้บริหารมีหน้าที่ต้องเป็นผู้อำนวยการ
กระบวนการอำนวยการ
1.จัดให้มีการประสานงาน ในสายงานการปกครอง บังคับบัญชา 2.จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง 3. มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร 4.การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
ขอบเขตของการอำนวยการ
1.การสั่งการ 2.การคุมงาน 3.การติดตามงาน
รูปแบบการสั่งการ
1.แบบออกคำสั่งโดยตรงหรือการออกคำสั่ง (Demand or Direct) 2.แบบขอร้อง (Request) 3.แบบเสนอแนะ (Suggest) 4.แบบอาสาสมัคร (Volunteer)
หลักสำคัญในการปฏิบัติงาน
1.ต้องรู้แจ้งในข้อเท็จจริงให้แน่ชัด 2. ต้องสั่งงานให้ตรงประเด็น 3. ต้องสั่งงานให้เป็นที่เข้าใจ และต้องมีความแน่ใจ 4.ต้องสั่งงานให้ทันต่อเวลาหรือเหตุการณ์ 5.จะต้องสั่งงานให้อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้ 6.ต้องมอบหมายอ านาจให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน 7.ต้องกล้ารับผิดชอบ และยอมรับข้อผิดพลาดถ้าไม่เกิดผล
4.การประสานงาน Co (Co-ordination)
การจัดระเบียบวิธีในการทำงาน เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานหรือใน องค์การได้ร่วมมือกัน ลดความเลื่อมล้ำ
การประสานงานที่ดีคือ
การติดต่อสื่อสาร
้เกิดความคิด ความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงานให้สอดคล้องทั้งเวลา และ กิจกรรม เกิดงานที่มีประสิทธิภาพ
1.การประสานงานอย่างเป็นทางการ
: การประสานงานแบบมีพิธีรีตรอง
2.การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ
: ไม่มีพิธีรีตอง ใช้ความสนิท แต่สุดท้ายต้องมีพิธีรีตอง
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
1.มีแผนงานที่ดี มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน 2.มีความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อกันและต่องาน 3.ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกันมีการติดต่อสื่อสารที่ดี 4.มีการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ 5.ผู้บริหารหรือหัวหน้างานต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
5.การควบคุม (Controlling)
กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน
ลักษณะการควบคุมงาน
1.การควบคุมภายใน 2.การควบคุมภายนอก : อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของหน่วยงาน
ขั้นตอนการควบคุมงาน
1.กำหนดเป้าหมายของการควบคุมงาน 2.กำหนดเกณฑ์และมาตรฐานในการควบคุมงาน 3.เปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนดไว้ 4.เนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ประโยชน์การควบคุมงาน
1.ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว 2.ประสิทธิภาพการทำงาน 3.เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม