Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและกระบวนการบริหารการพยาบาล, น.ส.วรินรัตน์ สว่างศรี เลขที่ 85…
องค์ประกอบและกระบวนการบริหารการพยาบาล
การบริหาร
การนำกระบวนการบริหารโดยอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการบริหารงานมาใช้กับระบบการบริการพยาบาล เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
การบริหารจัดการระบบ
ระบบคน ก็คือ มนุษย์หรือทรัพยากรบุคคล ที่เป็นผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ทรัพยากรต่างๆ
ระบบงาน ซึ่งก็คือทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ทรัพย์สิน เงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์
องค์ประกอบของการบริหาร
2.ปัจจัยการบริหาร
วัสดุอุปกรณ์ (Materials) การบริหารวัสดุในการดำเนินงาน ว่าจะทำอย่างไร้ให้สิ้นเปลืองน้อยที่สุด หรือเกิดประโยชน์สูงสุด
เทคนิควิธี (Method) การจัดการหรือเทคนิคในการบริหารจะใช้เทคนิควิธีการแบบใด
ที่สามารถสนับสนุนให้การบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เงิน หรือ งบประมาณ (Money) จะจัดสรรเงินอย่างไรให้ใช้จ่ายต้นทุนน้อยที่สุดและให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
เครื่องมือ (Machine) ในการบริหารงานจะใช้เครื่องมือ
เครื่องจักรประเภทใด ขนาดใดหรือแบบใดที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารงาน
คน หรือ บุคลากร (Man) ต้องเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถ คุณธรรม
จริยธรรม และมีพฤติกรรมเหมาะสม
3.ลักษณะการบริหาร การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และทั้งศิลป์ที่ผู้บริหารจะต้องนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารให้เกิดประสิท
ธิภาพสูงสุดต่อองค์กร จนมีคำกล่าวที่ว่า “ที่ใดมีผู้นำที่ดี ที่นั่นก็จะมีความสำเร็จ”
1.เป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่แน่นอนในการบริหารองค์การ
ผู้บริหารจะต้องมีการกำหนดทิศทางหรือวัตถุประสงค์ของการทำงานไว้ชัดเจน
หลักการบริหาร POSDCoRB
P คือ Planning หมายถึง การวางแผน
O คือ Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S คือ Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน
D คือ Directing หมายถึง การสั่งการ
Co คือ Co-ordination หมายถึง การประสานงาน
R คือ Reporting หมายถึง การรายงาน
B คือ Budgeting หมายถึง การจัดทำงบประมาณ
กระบวนการบริหารของ Haroled D.knootz
การอำนวยการ
การนำชี้แนะ จูงใจ ให้ผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานได้ตาม
เป้าหมายและมีประสิทธิภาพ
กระบวนการอำนวยการ
จัดให้มีการประสานงาน ในสายงานการปกครอง บังคับบัญชา
จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร
4.การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
รูปแบบการสั่งการ
1.แบบออกคำสั่งโดยตรงหรือการออกคำสั่ง (Demand or Direct) เป็นการสั่งการต้องการให้ผู้รับคำสั่งปฏิบัติทันที มักใช้ในกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
แบบขอร้อง (Request) เป็นการสั่งงานที่มีลักษณะโน้มเอียงไปทางขอความช่วยเหลือเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้รับมอบหมายงานได้มีโอกาสใช้ดุลยพินิจในการทำงาน
แบบเสนอแนะ (Suggest) เป็นการสั่งงานในลักษณะที่ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความคิดริเริ่มในการทำงาน
4.แบบอาสาสมัคร (Volunteer) เป็นการสั่งงานที่นอกเหนือจากหน้าที่จะต้องปฏิบัติเป็นงานที่อาศัยความเต็มใจ
การจัดองค์กร
กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดำเนินการหรือประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
กระบวนการจัดองค์กร
1.จัดวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดโครงสร้างองค์การ
2.จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
4.มอบหมายการทำงาน
จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่าง ๆ
6.มอบหมายงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ ความสามารถอย่างเหมาะสม
การวางแผน
การใช้ความรู้และวิจารณญาณในการตั้งเป้าหมายของการทำงานโดยกำหนดกลวิธีและขั้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้งานประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ
ความสำคัญของการวางแผน
ประหยัด ทรัพยากรและแรงงาน
การปฏิบัติตามแผน ทางานได้เร็ว ลดความผิดพลาด
การคาดการณ์ล่วงหน้า เผชิญปัญหาอุปสรรค
ช่วยให้กระบวนการบริหารเป็นไปอย่างเหมาะสม
พัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติตามแผน เข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ลดความซ้าซ้อนของงาน
ประเภทของแผน
แบ่งตามระยะเวลา
1.1 แผนระยะสั้น (Short term plan) 1 - 3 ปี
1.2 แผนระยะกลาง (Median term plan ) 5 – 10 ปี แผนพัฒนาบุคลากร
1.3 แผนระยะยาว (Long term plan ) 10 ปี
แผนฉุกเฉิน ความจำเป็น
แผนโดยจำแนกตามลำดับขั้นขององค์กร
3.1 แผนกลยุทธ์ (Strategic planning)
3.2 แผนโครงการ (Project planning)
3.3 แผนปฏิบัติการ (Operational planning)
กระบวนการวางแผน
กำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
2.รวบรวมข้อมูล (Collecting data)
วางแผน (Planning)
ดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan)
ติดตามและปรับปรุงแผน (Monitoring of the plan)
การประสานงาน
การจัดระเบียบวิธีในการทำงาน การติดต่อสื่อสารให้เกิดความคิด ความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงาน ไม่ทำให้งานซ้อน ขัดแย้ง หรือเหลื่อมลำ้กัน
ปัจจัยที่ช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
มีแผนงานที่ดี มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน
มีความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อกันและต่องาน
ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกันมีการติดต่อสื่อสารที่ดี
มีการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ
5.ผู้บริหารหรือหัวหน้างานต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
ปัญหาและอุปสรรคในการประสานงาน
1.การจัดองค์การที่มีลักษณะซับซ้อนและเป็นองค์การที่ใหญ่มาก
2.การปฏิบัติงานที่ไม่มีแผน
3.การขาดมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
4.การมอบหมายงานที่ซํ้าซ้อนและก้าวก่ายหน้าที่กัน
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน
6.ขาดการนิเทศที่ดี
สภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่แตกต่างกัน
ลักษณะของการประสานงาน :
๑. การประสานงานอย่างเป็นทางการ หมายถึง การประสานงานแบบมีพิธีรีตรองที่ต้องปฏิบัติ เช่น มีหนังสือติดต่อหรือแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร หรือเสนอรายงานเป็นลำดับชั้น เป็นต้น
๒. การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ หมายถึง การประสานงานแบบไม่มีพิธีรีตองเพียงแต่ทำความตกลงให้ทราบถึงการที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตามจังหวะเวลาเดียวกัน และจุดประสงค์เดียวกัน
การควบคุม
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการควบคุมงาน
กำหนดเป้าหมายของการควบคุมงาน
กำหนดเกณฑ์และมาตรฐานในการควบคุมงาน
เปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนดไว้
ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ลักษณะการควบคุมงาน
การควบคุมภายใน คือ การควบคุมการปฏิบัติงานที่จัดให้มีในหน่วยงานนั้นๆ โดยอาศัยเทคนิค เครื่องมือ และวิธีการต่าง
การควบคุมภายนอก คือ วิธีการที่อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของหน่วยงานแต่เป็นการควบคุมโดยผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลจากการดำเนินงานของหน่วยงาน
ประโยชน์ของการควบคุม
ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน มีความรับผิดชอบ
ประสิทธิภาพการทำงานและการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน
เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง
ปัญหาในการควบคุมงาน
จัดระบบงานไม่ดี ละเลยการจัดระบบงาน
หัวหน้าหน่วยงานไม่เห็นความสำคัญ
ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน
ไม่มีหลักเกณฑ์และมาตรฐานการควบคุมงาน
น.ส.วรินรัตน์ สว่างศรี เลขที่ 85 รหัสนักศึกษา 603101086