Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11 การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน, ADHA : ในชั้นเรียนระดับประถ…
บทที่11
การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
ADHA : ในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา
ปัญหาทางด้านพฤิกรรมและการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีภาวะ ADHA
ร้อยละ 25 มีพฤติกรรมทางด้านสังคม
ร้อยละ 30 มีความผิดปกติทางด้านวิตกกังวล
ร้อยละ 90 ไม่สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายที่โรงเรียนได้
ร้อยละ 90 ไม่สามารถประสบความสำเร็จในการเรียนได้
ร้อยละ 20 ประสบปัญหาในการอ่าน
ครูทำอะไรในชั้นเรียนบ้าง
กลยุทธ์ในการจัดการลุกลี้ลุกลน
ให้โอกาศผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนท่านั่ง
ให้ผู้เรียนสามารถลุกขึ้นยืนได้
สร้างความเคลื่อนไหวการปฎิสัมพันธ์ในชั่วโมงเรียน
กลยุทธ์ในหารจัดการความหุนหัน
เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน
สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวกให้ผู้เรียน
ตั้งกฎเกณฑ์ในชั้นเรียน
กลยุทธ์ในการจัดการการไม่ตั้งใจ
ให้ผู้เรียนเอาใจใส่กับงานที่ทำ
แบ่งงานให้นักเรียนทำงานชิ้นย่อยๆ
จัดที่นั่งผู้เรียนให้นั่งหน้าชั้นเรียน
ใช้วิธี เพื่อนนักเรียนเป็นบัดดี้
สัญญาณบ่งบอกผู้เรียนคนใดมีภาวะ ADHA
ความลุกลี้ลุกลน
มักพูดคุยไม่หยุด
นังไมาอยู่ประจำที่ชั้นเรียน
สร้างสถานการณ์ที่ไม่เหมาสม
การขาดความตั้งใจ
ไม่ฟังเมื่อมีคนพูดคุยโดยตรง
ประสบปัญหาในการจดจอกับงาน
หันเหความสนใจไปตามสิ่งเร้า
หลงลืมเกียวกับงานที่ต้องทำประจำ
ความหุนหัน
ประสบปัญหาการรอคอย
มักโพล่ตอบที่จะฟังคำถามจนจบ
พูดแทรกผู้อื่น
ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไมาเชื่อฟังในชั้นมัธยมศึกษา
ครูจะจัดการกับผู้เรียนที่ไมาเชื่อฟังอย่างไร
ใช้กลยุทธ์แบบตัวต่อตัว
ระบุความสำคัญตนที่ผิด
ช่วยให้พวกเขาประสบความสำเร็จ
วางแผนการสอนให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
ติดต่อผู้ปกครองของผู้เรียน
ความรู้สึกส่วนตัวของครู
ความบากบั่นและไม่ย่อท้อ
ความอดทนและอดกลั้น
การควบคุมตัวเอง
ความเชื่อมั่นในความสามารถของผู้เรียน
อารมณ์ขัน
ความเป็นห่วงที่แท้จริงและความอบอุ่น
ความเอาใจใส่
นางสาวฮิลวาณี วาโซ๊ะ เลขที่25
รหัส6120160466 กลุ่ม6