Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
Gestational hypertension
เกณฑ์การวินิจฉัย
SBP > 140 mmHg,DBP > 90 mmHg
วัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชม.
ตรวจพบภายหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Preeclampsia
เกณฑ์การวินิจฉัย
SBP > 140 mmHg and/or ,DBP > 90 mmHg
วัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชม.
SBP > 160 mmHg and/or ,DBP > 110 mmHg
ยืนยันภายในระยะเวลาอันสั้น (1-2 นาที) เพื่อการรักษาโดยเร็ว
Thrombocytopenia: Plt < 100,000 cell/mm3
Impaired liver function: serum liver enzymes สูงกว่าปกติอย่างน้อย 2 เท่า
Pulmonary edema อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นใหม่ ไม่ตอบสนองต่อยา
การตรวจ Roll Over Test
MAP (mean arterial pressure
Severe features of preeclampsia
SBP > 160 mmHg and/or DBP > 110 mmHg
Thrombocytopenia: Plt < 100,000 cell/mm3
Renal insufficiency: creatinin > 1.1 mg/dl หรือสูงกว่า 2 เท่าของค่าเดิม โดยไม่มีโรคไตอื่น
Impaired liver function: serum liver enzymes (AST/ALT)สูงกว่าปกติ อย่างน้อย 2 เท่า
อาการปวดใต้ชายโครงขวารุนแรงและไม่หายไป
Pulmonary edema
อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นใหม่
รายที่มีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง วินิจฉัยเป็น preeclampsia with Severe features
รายที่ไม่พบลักษณะดังกล่าว วินิจฉัยเป็น preeclampsia without Severe features
Chronic hypertension
เกณฑ์การวินิจฉัย
SBP > 140 mmHg and/or DBP > 90 mmHg ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
วินิจฉัยเป็น stage 1 hypertension ก่อนการตั้งครรภ์
20-50 % พัฒนาเป็น superimposed preeclampsia
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
เกณฑ์การวินิจฉัย
A sudden increase in proteinuria
A sudden increase in liver enzymes
A sudden increase in baseline hypertension
New onset of Thrombocytopenia
Elevated uric acid levels
HELLP
เกณฑ์การวินิจฉัย
Hemolysis ( Abnormal peripheral smear และ LDH > 600 IU/L)
serumbilirubin > 1.2 mg/dl
Elevated Liver enzymes (AST or ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่าปกติ)
Low platelets (platelets < 100,000 cell/mm3)
ปวดบริเวณใต้ชายโครงด้านขวาและรู้สึกไม่สบายตัวอ่อนเพลียมาก (90%) คลื่นไส้อาเจียน (50%)
อาจมี หรือไม่มี ความดันโลหิตสูงหรือโปรตีนในปัสสาวะ
Eclampsia
การชัก (tonic-clonic, focal or multifocal seizures) เกิดขึ้นครั้งแรกที่ไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
การชักที่เกิดขึ้นครั้งแรกในระยะ 48-72 ชม.หลังคลอด
การชักในขณะที่ได้รับยา magnesium sulfate
สาเหตุ
Cerebral vasospasm ร่วมกับ local ischemia, vasogenic edema
ภาวะ utero-placental ischemia ทาให้มีการหลั่งสาร molecules
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการชัก
ภาวะขาดออกซิเจน hypoxic encephalopathy
ภาวะ acidosis
เลือดออกในสมอง
Aspiration pneumonia
การบาดเจ็บจากการชัก
อาการนาก่อนการชัก
ปวดศีรษะมาก บริเวณหน้าผาก หรือท้ายทอย
ตาพร่ามัว อาเจียน
Hyperreflexia
จุกแน่นลิ้นปี่หรือเจ็บใต้ชายโครงขวา
การวินิจฉัย
อาการชักมีลักษณะเฉพาะที่ เรียกว่า Tonoclonic seizures
Premonitory stage)
กินเวลา 10 20 วินาทีมีอาการกระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่ ศีรษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง และรูม่านตาขยาย
stage of invasion)
กล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก ริมฝีปากเบี้ยว ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 2-3 วินาที
stage of contraction
ลำตัวเหยียด ศีรษะหงายไปด้านหลัง มือกำแน่น แขนงอ
ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 15-20 วินาที
stage of convulsion
ขากรรไกรกระตุก อาจกัดลิ้น น้าลายฟูมปาก ใบหน้าบวม หนังตาจะปิด
ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 1-2 นาที
Coma
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหว อยู่ในสภาพหมดแรง อาจมีอาการหยุดหายใจเป็น
การวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง
การเตรียมผู้รับบริการ
นั่งบนเก้าอี้ในท่าที่ผ่อนคลาย(เท้าวางราบบนพื้น ไม่นั่งไขว่ห้าง หลังพิงพนัก) เป็นเวลามากกว่า 5 นาที
หลีกเลี่ยงคาเฟอีน การออกกาลังกาย และการสูบบุหรี่ อย่างน้อย 30 นาทีก่อนวัด
กระเพาะปัสสาวะว่าง
ไม่ควรพูดคุยในขณะพัก หรือขณะวัด
พัน cuff ติดกับผิวหนังต้นแขนโดยไม่มีแขนเสื้อขั้นกลาง
หากวัดในท่านอนควรจัดนอนตะแคงซ้าย โดยให้ cuff อยู่ระดับเดียวกับ right atrium
เทคนิคการวัดที่เหมาะสม
ใช้เครื่องวัด BP ที่น่าเชื่อถือ และได้รับการตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมือเป็นระยะๆ
ตำแหน่งของ cuff อยู่ระดับเดียวกับ right atrium
ใช้ stethoscope diaphragm หรือ bell ในการฟังเสียง korotkoff sound
วัด BP อย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 1-2 นาที จากแขนเดียวกัน และท่าเดียวกัน
การดูแลสตรีที่มีที่มีภาวะ gestational hypertension และ preeclampsia การประเมินปัจจัยเสี่ยง ACOG 2013
Previous preeclampsia
โรคไตเรื้อรัง
SLE
Preexisting DM
CHT
ครรภ์แฝด
ครรภ์แรก
อายุ > 40 ปี
ภาวะอ้วน BMI > 30
ประวัติคนในครอบครัว เป็น preeclampsia
ประวัติเป็น thrombophilia
การเปลี่ยนแปลงของรกในภาวะครรภ์เป็นพิษ
ผลต่อมารดา
อันตรายจากภาวะชัก อาจทาให้หญิงตั้งครรภ์ที่เสียชีวิต
ภาวะหัวใจทางานล้มเหลว (Congestive heart failure)
เสียเลือดและช็อค
เกิดภาวะ HELLP syndrome
ผลต่อทารก
รกเสื่อม แท้งหรือทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์จากได้รับสารน้ำ สารอาหารไม่เพียงพอ
การดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ติดตามอาการสาคัญต่าง ๆ ได้แก่ อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
การให้แอสไพริน (aspirin) ปริมาณน้อย ๆ (3.5 mg/kg/day หรือ 81 mg/day) อาจทาให้อาการดีขึ้น
การให้แคลเซียมประมาณ 1.5 กรัม/วัน และการดูแลให้มารดานอนพักในท่าตะแคง
การรักษา mild pre-eclampsia
โดยปกติแล้วถ้าตรวจพบว่าหญิงตั้งครรภ์เป็น mild pre-eclampsia และมีโปรตีนในปัสสาวะ มักจะให้หญิงตั้งครรภ์นอนโรงพยาบาล
การนอนพักในท่านอนตะแคงซ้าย
ควบคุมอาหารเค็ม โดยได้รับเกลือไม่เกิน 6 กรัม/วัน และโปรตีนได้รับประมาณ 80-100 กรัม/วัน
ตรวจสอบสภาพทารกในครรภ์โดยการนับเด็กดิ้น
เก็บโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชม. อย่างน้อย 3 วัน
การรักษา Severe preeclampsia
รับไว้ในโรงพยาบาล เฝ้าระวังและตรวจติดตามอาการนาของภาวะ preeclampsia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
การให้ยา steroid
การให้ยาลดความดันโลหิตสูง เช่น hydralazine , nifedepine
ให้ยาป้องกันการชัก ที่นิยมคือ MgSO4
ข้อควรระวัง
ถ้าไตเสื่อม ไม่ต้องปรับ loading dose และแต่ให้ maintenance dose น้อยกว่า 1 กรัมต่อชั่วโมง
ถ้าชักซ้ำ ให้ MgSO4 เพิ่มอีก 2 กรัม
ผลข้างเคียง
Flushing อาการร้อนวูบวาบ ผิวหนังมีสีแดงขึ้น บริเวณใบหน้าและลาคอ
กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย ผลจากยาทาให้ระดับแคลเซียมในเซลล์กล้ามเนื้อลายลดลง