Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (Male Reproductive) - Coggle Diagram
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
(Male Reproductive)
การสืบพันธุ์
การเพิ่มจำนวนหรือให้กำเนิดลูกหลานที่เหมือนพ่อแม่หรือ
บรรพบุรุษ เพื่อการดำรงเผ่าพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่
ถุงหุ้มอัณฑะ (scrotum)
องคชาต (penis)
อวัยวะสืบพันธ์ภายใน ได้แก่
อัณฑะ
ท่อเก็บอสุจิ
ท่อนำอสุจิ
ท่อฉีดน้ำเชื้อ
ต่อมที่ทำหน้าที่สร้างของเหลวและสารอาหารสำหรับเลี้ยงเชื้ออสุจิ
ต่อมลูกหมาก
ต่อมเมือก
ถุงเก็บน้ำอสุจิ
(External genital organs
ถุงหุ้มอัณฑะ (scrotum)
องคชาต (penis)ออกเป็น 3 ส่วน
Root of penis - Body of penis - Glans of penis
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
อัณฑะ (testis) - Tunica vaginalis - Tunica albuginia
หน้าที่หลักของอัณฑะ
สร้างอสุจิ (sperm)
สร้างฮอร์โมนเพศ
ตัวอสุจิ (spermatozoa)
หลั่งออกมาแล้วจะมีชีวิตอยู่ 48 ชั่วโมง
ตัวอสุจิประกอบด้วย
ส่วนหัว(head)มีลักษณะเป็นรูปไข่
ส่วนกลาง (middle piece) มี mitochondria จำนวนมาก
ส่วนหาง (tail) เป็น flagellum ใช้ในการเคลื่อน
องค์ประกอบต่างๆที่ควบคุมการสร้างอสุจิ
อาหาร ถ้าไม่เพียงพอ การสร้างอสุจิจะน้อยลง
4.สารเคมีบางชนิด เช่นแอลกอฮอร์สามารถทำให้การสร้างอสุจิลดลง
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ได้แก่ FSH
วิตามิน เช่น วิตามิน A วิตามิน E
อุณหภูมิจะต้องเหมาะสม
สร้างฮอร์โมน
ในอัณฑะนอกจากจะมีเซลล์ต้นกำเนิด และเซลล์อสุจิแล้วในระหว่างท่อสร้างอสุจิยังมีเซลล์อีกพวกหนึ่งอยู่รวมกันเป็นกลุ่มนอกท่อสร้างอสุจิ เรียก Leydig cells
ผลของ testosterone
การกระตุ้นการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธ์ภายในเช่น Seminal vesicle
กระตุ้นการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกเช่น การเพิ่มขนาดของ penis และ testis
กระตุ้นให้ testis เคลื่อนลงไปอยู่ใน scrotrum ก่อนคลอด
กระตุ้นลักษณะของร่างกายที่บ่งบอกเพศชาย
มีขนตามร่างกาย
กระตุ้นการทำงานของยีนที่ควบคุมการล้านของศีรษะ
กระตุ้น metabolism ของโปรตีน ทำให้มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ
ทำให้กล่องเสียงมีขนาดโตขึ้น และสายเสียงหนาตัวขึ้น ทำให้เสียงแหบห้าว
มีสิว เนื่องจากต่อมน้ำมันขับน้ำมันออกมามาก
มีความรู้สึกทางเพศ
มีนิสัยก้าวร้าว และมีความคิดแบบผู้ชาย
5.spermatogenesis
ควบคุมการหลั่งของ GnRH
ควบคุมการสร้างเม็ดเลือด
ป้องกันการเกิดกระดูกพรุน
male accessory gland
Seminal vesicleทำหน้าที่ สร้างอาหารมาเลี้ยงอสุจิ ส่วนมากเป็นสารพวกด่าง เพื่อป้องกันอสุจิตายในช่องคลอด
seminal fluid เป็นสารที่หลั่งจาก
seminal vesicle ประมาณ 75%
prostate gland ประมาณ 15%
epididymis ประมาณ 10%
Prostate gland
ต่อมนี้จะโตขนาดลูกหมากจึงเรียก ต่อมลูกหมากทำหน้าที่ผลิตของเหลวให้ seminal fluid มี pH 6.5 ประกอบด้วย citric acid, acid
phosphatase, fibrinolysin ซึ่งจะละลาย semen เพื่อไม่ให้ sperm จับตัวกันเป็นก้อน
Bulbouretral gland หรือ Cowper’s gland (ต่อมเมือก) ทำหน้าที่สร้างสารที่มีคุณสมบัติเป็นด่างสำหรับหล่อลื่นเพื่อให้ sperm ผ่านออกมาได้อย่างสะดวก
ท่อเก็บอสุจิ (Epididymis)
เป็นท่อยาวประมาณ 20 ฟุต หรือประมาณ 6 เมตร ซึ่งขดอยู่บริเวณด้านหลัง ของ testis แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนหัว (head) ส่วนตัว (body) และ หาง (tail)
ท่อนำอสุจิ
เป็นท่อที่ยื่นต่อมาจาก epididymis แล้วยื่นต่อเข้าไปยังช่องท้องโดยผ่าน inguinal canal ซึ่งช่องนี้จะยื่นไปยังช่องท้องโดยรวมเป็น spermatic cord
ท่อฉีดน้ำเชื้อ
Ejaculartory duct เป็นท่อที่มาจากส่วนของ ampulla และ seminal vesicle มาบรรจบกันที่บริเวณต่อมลูกหมาก (prostate gland) เป็นทางผ่านของอสุจิ (sperm)
ความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
-ภาวะลูกอัณฑะไม่ลงถุง (Crytorchidism)การที่อัณฑะไม่เคลื่อนลงสูถุงหุ้มอัณฑะก่อนคลอดเป็นสาเหตุให้อัณฑะซึ่งค้างอยู่ในช่องท้องทีอุณหภูมิสูง 37 องศาไม่สามารถสร้าง sperm ได้
-แก้ไขได้โดยการให้โกนาโดโทรฟินหรือผ่าตัด
อัณฑะทำงานน้อย (Hypogonadism)
การที่อัณฑะสร้างเชื้ออสุจิได้น้อย ความผิดปกติอาจเกิดขึ้นที่ระดับ hypothalamus,pituitary gland หรือที่ testis
โรค Kallmann’s syndromeอัณฑะไม่ทำงานเนื่องจากขาดgonadotrophin พบในเด็กที่กำลังจะเข้าสู่วัยหนุ่มแต่ไม่มี secondary sexual characteristics
การทำงานของระบบสืบพันธุ์ผิดปกติเนื่องจากคนไข้ขาดฮอร์โมนจาก pituitary gland (hypopituitarism)ทำให้ผู้ป่วยมีการเจริญเติบโตและเข้าสู่วัยหนุ่มช้า