Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหาร และการประกันคุณภาพการศึกษา…
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหาร
และการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
ระบบการบริหารสถานศึกษา
กิจกรรมทั้งมวลที่จ้าเป็นต่อการธ้ารงรักษาและ ดำเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของสถานศึกษา
การบริหารงานนั้นจะต้องใช้ศาสตร์และศิลป์
ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งในด้านสติปัญญา ความสามารถ ความถนัด และความต้องการที่ไม่เหมือนกันจึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่จะนำเอาเทคนิควิธีและกระบวน
การบริหารที่เหมาะสมมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา
หลักการบริหารสถานศึกษา
การกระจายอำนาจ (Decentralization)
ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability)
การมีส่วนร่วม (Participation)
ธรรมาภิบาล (Good Governance)
ยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจ (School-Based Decision)
ความเป็นนิติบุคคล (A juristic person)
การบริหารสถานศึกษา
การทำงานอย่างเป็นระบบ ครบวงจร การบริหารคุณภาพ
ซึ่งมีความสัมพันธ์และความสำคัญลดหลั่นกันไป
หน้าที่ในการบริหารสถานศึกษา
การจัดองค์กร (Organizing)
กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆและการจัดระบบการด้าเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
การนำ (Leading)
การอำนวยการและการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององค์การ
การวางแผน (Planning)
การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการอย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
การควบคุม (Controlling)
การกำกับให้การดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนขององค์การที่ได้กำหนดไว้
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังคณะกรรมการส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
งบประมาณ
การบริหารงานบุคคล
ด้านวิชาการ
การบริหารทั่วไป
กระบวนการการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา
กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
กระบวนการ (PDCA)
กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนน้ามาใช้ตาม
ความแตกต่างของโรงเรียน เช่น PMQA, TQM, RMB เป็นต้น
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป ไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่นำไปสู่คุณภาพของผู้เรียน
ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ ถูกต้องสมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน เรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตลอดเวลา นำไปใช้ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานศึกษาอาจมีแนวดำเนินการจัดระบบบริหารและสารสนเทศดังนี้
จัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ
นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน
ระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
ความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่างๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย
ระบบสารสนเทศ (Information System)
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างมีระบบ
ข้อมูล (Data)
ข้อเท็จจริงต่างๆ อาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือเป็นสิ่งที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์จัดกระทำ
ขัั้นตอนการดำเนินงาน
การประมวลผลข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่น้าไปใช้ประโยชน์ได้
นำมาจัดกลุ่มแยกแยะตามลักษณะและประเภทของสารสนเทศ
การเรียงล้าดับ
การแจงนับ
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
จัดทำเป็นสารสนเทศที่มีความหมายชัดเจน มีความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการสะดวกต่อการนำไปใช้
แผนภาพ
กราฟ
ตาราง
การบรรยายเป็นความเรียง
การตรวจสอบข้อมูล
พิจารณาจากความถูกต้อง ความสมบูรณ์และความเป็นปัจจุบันของข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
จัดเก็บทั้งส่วนที่เป็นข้อมูลและส่วนที่เป็นสารสนเทศไว้ในสื่อต่างๆ
อย่างมีระบบ สะดวกต่อการค้นหาเพื่อน้ามาใช้ประโยชน์
แฟ้มอิเล็กทรอนิก
แฟ้มเอกสาร
จำแนกตามวิธีดำเนินการ
ระบบทำด้วยมือ (Manual System)
เป็นระบบที่เก็บโดยการใช้เอกสารในรูปแบบต่างๆ
ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – Automation)
ใช้มือทำส่วนหนึ่ง และใช้เครื่องกลส่วนหนึ่ง
ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation)
เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการดำเนินงาน และต้องมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน
การรวบรวมข้อมูล
กำหนดรายการข้อมูลที่ต้องการ กำหนดวิธีการจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในกาจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบบันทึก
แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต
แบบสำรวจ
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
ผลผลิต (Output)
เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
นักเรียนที่จบการศึกษามีความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร
ความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครองและครู
กระบวนการ (Process)
เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
กระบวนการบริหาร
กระบวนการจัดระบบสารสนเทศ
กระบวนการเรียนการสอน
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์รวมถึง
ชีให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยน้าเข้า กระบวนการและผลผลิต
ผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
สภาพแวดล้อม (Environment)
เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบหรือองค์การ
ชุมชน
ผู้ปกครอง
ที่ตั้ง
บรรยากาศขององค์การ
ปัจจัยนำเข้า (Input)
เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทำงาน
วัสดุอุปกรณ์
งบประมาณ
อาจารย์
อาคารสถานที่
ครู
เทคโนโลยีหลักสูตรสถานศึกษา
นักเรียน
การกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู
รูปแบบที่ 2 จัดระบบเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีติดต่อกัน
ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีติดต่อกัน
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 3 จัดระบบตามลักษณข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 1 จัดระบบตามลักษณะข้อมูล
ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 4 จัดระบบตามภารกิจการบริหารและ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาและบุคลากร
งานบุคลากร
งานงบประมาณ
งานวิชาการ
งานบริหารทั่วไป
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ให้การสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาให้ได้รับการอบรมพัฒนาทักษะด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศ
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศ
จัดให้มีระบบติดตามการปฏิบัติงาน
สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้และสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่ทางสถานศึกษาจัดท้ำขึ้นได้ด้วยตนเอง
คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศ
การนำข้อมูลสารสนเทสไปใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีในการจัดการระบบสารสนเทศในสถานศึกษาในรูปของโปรแกรมประยุกต์
P-OBEC Personal
เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากลุ่มบริหารงานบุคคล
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS)
เป็นระบบที่นำเอาระบบแผนที่กราฟฟิกมาทำงานร่วมกับฐานข้อมูล
B-OBEC Building
เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสิ่งก่อสร้างรายโรงเรียน
e-office
ด้านงานธุรการ การบริหารงานการเงินใช้โปรแกรมต้นทุนผลผลิต
M-OBEC Matenal
เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลครุภัณฑ์รายโรงเรียน
Student 44
การบริหารงานวิชาการในด้านงานทะเบียนและวัดผล
SMIS
เป็นโปรแกรมระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา พัฒนาขึ้น เพื่อจัดเก็บข้อมูลในระดับสถานศึกษา
O-BEC
เป็นโปรแกรมเพื่อการจัดเก็บบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ณ วันที่10 มิถุนายน ของทุกปี
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศทั่วไป
ด้านตัวบุคคลสามารถนำไปใช้ประโยขน์
ด้านครู
แผน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร (การพัฒนาวิชาชีพการอบรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้)
ด้านวิชาการ (การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามผล การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การบริหารจัดการศึกษา)
ด้านงบประมาณ (การจัดตั้งจัดสรรงบประมาณ)
ด้านบริหารทั่วไป (การวางแผนทางการศึกษารายงานโครงการ/กิจกรรม/การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศการเรียนการสอน)
ด้านผู้บริหาร
การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก
งานความสัมพันธ์ชุมชนการนิเทศติดตามผลรายงานประจำปี
การวางแผนทางการศึกษา
ด้านผู้เรียน
การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก
การนิเทศติดตามผลรายงานประจำปี
การจัดตั้งการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การวางแผนทางการศึกษา
การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาการเรียนการสอน
การจัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ/กิจการนักเรียน/การบริหารจัดการศึกษา
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง การหา/จัดทำสื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้
การจัดทำผลงานทางวิชาการ
ด้านภารกิจการบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
งานบริหารบุคคล
ด้านวิชาการ (การพัฒนาการจัดการเรียนรู้การนิเทศติดตามผลการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การบริหารจัดการ)
ด้านงบประมาณ (การจัดตั้งจัดสรรงบประมาณ)
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร (การพัฒนาวิชาชีพ การอบรมเพื่อพัฒนา การพัฒนาการจัดการเรียนรู้)
ด้านบริหารทั่วไป (วางแผนทางการศึกษา รายงานโครงการ/กิจกรรม การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศการเรียนการสอน) เป็นต้น
งบประมาณ
การนิเทศติดตามผล การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายนอก การบริหารจัดการศึกษา
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านงบประมาณ การจัดตั้งจัดตั้งงบประมาณของงาน 4 งาน
งานด้านวิชาการ
การจัดตั้งการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การวางแผนทางการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ/กิจการนักเรียน/การบริหารจัดการศึกษา
การนิเทศติดตามผลรายงานประจำปี
การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาการเรียนการสอน
งานบริหารทั่วไป
การจัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรม ด้านบริหารทั่วไป
งานด้านวิชาการ (การจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้) การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การนิเทศติดตามผลรายงานประจำปี