Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 3 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
ความต้องการสารอาหารต่างๆ ในวัยเด็ก
การเจริญเติบโตในวัยเด็กโดยทั่วไป พบว่าอัตราการเจริญเติบโตของเด็กในวัยหลัง ขวบปีแรกจะช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงที่พบ ในช่วงที่เป็นทารกความต้องการ สารอาหารขึ้นอยู่กับ
ความต้องการน้ำ
น้ำา มีความจำ เป็นต่อการเมตาบอลิสมของรา่งกาย ดังนั้นเด็กควร ได้รับน้ำ อยา่งเพียงพอในแตล่ะวันโดยคา นวณจาก
ประเมินการใช้พลังงาน แล้วกำ หนด100 ml / 100 kcal นอกจากนี้ การใช้พลังงาน100 kcal จะได้น้ำ จากการoxidation อีก10-20 ml ก
โภชนาการสำหรับเด็กแต่ละวัย
วัยทารก (0-1 ปี)
ให้มารดาให้นมบุตรอย่างเดียวจนถึง 6 เดือน
มีภูมิคุ้มกันโรคหลาย ๆ ชนิด ที่หลั่งออกผ่านออกมาทางน้ำนมและยังเป็นการ สร้างความอบอุ่นทางด้านจิตใจ
ทารกจะมีความต้องการสารอาหารในอัตราสูงกว่าวัยอื่น ๆ
ให้พลังงาน 20 แคลอรี่/ออนซ์ 1 ออนซ์= 30 มิลลิลิตร
2 สัปดาห์แรกเกิด : ให้ทุก 2-3 ชั่วโมง หลังจากนั้น ทุก 3-4 ชั่วโมงใน กลางวัน กลางคืนแล้วแต่ความต้องการของทารก
ปัญหาที่พบบ่อยในทารก
1.อาเจียน/แหวะนม/สำารอกนม
1.2 กินนมมากเกิน
1.3 ภาวะกรดไหลย้อน
1.1 กินนมแล้วไม่ถูกอุ้มให้เรอลม
1.4 ภาวะย่อยนมได้ไม่ดี
1.5 ภาวะย่อยน้ำตาลแลกโตสได้ไม่ดี
ท้องผูก
การถ่ายอุจจาระแข็งกว่าปกติมาก ซึ่งอาจจะหลาย ๆ วันถ่ายครั้ง หรือถ่าย อุจจาระทุกวัน แต่อุจจาระแข็งมาก ก็ถือว่าเป็น อาการท้องผูก
ท้องอืด
•ดื่มนมช้าเกินไป
•ดื่มนมเร็วเกินไป
•ดื่มนมที่มีฟองอากาศ
•ร้องไหต้ดิต่อกันเป็นเวลานาน
•กระบวนการย่อยอาหาร
วัยเด็ก
อัตราการเพิ่มน้ำ หนักเริ่มลดลง
ต้องการพลังงานยังคงมีสูง
เด็กอยากกินอาหารน้อยลง สนใจการเล่น
หากพ่อแม่ไมเ่ข้าใจและวิตกกังวลมากเกินไป
เด็กก่อนวัยเรียน
อัตราการเจริญเติบโตลดลง
ความต้องการอาหารไม่มากนัก
เป็นตัวของตัวเอง เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ สนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว จึงทำ ให้สนใจ รับประทานอาหารน้อยลง
โปรตีนเป็นอาหารหลักที่สำคัญสำหรับการ เจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ โปรตีนที่ต้องการคือ 2-3 กรัม/กก.
วัยเรียน
อัตราการเจริญเติบโตสม่ำ เสมอ
เด็กมักให้ความสนใจกับขนม อาหารว่าง หรืออาหารสำเร็จรูป
เลือกรับประทานอาหารตามความ นิยมของสังคม หรือกลุ่มเพื่อน
วัยรุ่น
ต้องการพลังงานมากกว่า2,000 แคลอรี่ต่อวัน
วัยรุ่นชาย ต้องการพลังงานสูงกว่าเด็กหญิง ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ทำ
มีอิสระในการเลือกรับประทานอาหาร
เลือกรบัประทานอาหารตามกลุ่มเพื่อน เช่นอา หารฟาสฟูดส์
ปัญหาโภชนาการในเด็ก
ภาวะน้ำหนักเกิน และโรคอ้วน (Obesity)
พบอุบัติการณข์องโรคอ้วนในประเทศไทย เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่โรคขาดสารอาหาร พบได้น้อยลง
ค่านิยมของครอบครัว ที่มักจะเลี้ยงดูให้ เด็กดูจ้ำ ม่ำ
มีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ไขมันในเลือดสูง โรคข้อ โรค เกี่ยวกับทางเดินหายใจ ปัญหาทางด้าน จิตใจ
2.น้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน (Underweight)
เด็กที่ผอมกว่าปกติอาจมีสาเหตุ จากเป็นโรคเรื้อรัง
ได้รับอาหารไม่พอหรือไม่อยาก อาหาร
ในเด็กหญิงโดยเฉพาะในช่วงอายุ 9-17 ปี อาจจะอดอาหารเพื่อ ควบคุมน้ำหนัก
โรคโลหติจางจากการขาดเหล็ก ( Iron Deficiency )
พบมากถึงร้อยละ20 ของ ประชากรโลก โดยเฉพาะ ประเทศกำลังพัฒนา
เป็นภาวะที่่ความเข็มข้นของ Hb,Hctหรือ RBC มีประมิาณ น้อยกว่าปกติ
ได้รับเหล็กไม่เพียงพอ