Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร - Coggle Diagram
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่(Modern theory)
การทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีมและงาน
เหล่านั้นจะต้องจัดเป็นระบบ (system)
1.ทฤษฎีระบบ(System theory
ระบบปิด
ระบบที่มีความสมบูรณ์ภายในตัวเองไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่น
ระบบเปิด
ระบบที่อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ
ประกอบด้วย5 ส่วน
ข้อมูลย้อนกลับ(Feedback)
สิ่งแวดล้อม
ผลผลิต (Outputs)
กระบวนการแปรสภาพ(Transformation process)
ปัจจัยนำเข้า (Inputs)
2.ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory)
2.1 ฟีดเลอร์
พัฒนารูปแบบจำลอง “ความเป็นผู้นำตามสถานการณ์”
Least Preferred Co-worker : LPC ในการประเมินรูปแบบผู้นำว่า
รูปแบบเน้นความสัมพันธ์หรือเน้นงาน
ต้องมีการเปลี่ยน
สถานการณ์ให้เข้ากับรูปแบบภาวะผู้นำ
ขึ้นอยู่กับความจำเป็นของสถานการณ์
ในขณะนั้น วิธีการบริหารจะไม่ตายตัว
2.2 วรูม และ เยตัน
เสนอทฤษฎีความเป็นผู้นำเชิง
สถานการณ์ Leader Participation Model
หลักการสำคัญคือ การเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำ โดย
เปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ทฤษฎีการตัดสินใจ (decision making theory) ผู้บังคับบัญชาอาจฟังความคิดเห็นจาก
ผู้ใต้บังคับบัญชา
2.3 โรเบิร์ต เฮาส์ (Robert House)
เสนอแนวความคิดผู้นำเชิงสถานการณ์ ทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมาย(Path-goal Theory)
มีความเห็นว่า “ภาวะผู้นำเกี่ยวข้องกับการจูงใจ แบบของภาวะผู้นำขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ผู้นำสามารถให้ความสำคัญทั้งคนและงานในเวลาเดียวกันโดยใช้อิทธิพลของแรงจูงใจ”
กล่าวได้ว่า “ใช้แรงจูงใจเป็นแรงผลักให้สู่เป้าหมายทั้งส่วนบุคคลและขององค์การ”
2.4 เฮร์เซย์และแบลนชาร์ด ( Hersey and Blanchard )
ระดับความพร้อมของผู้ตามเป็น 4 ระดับ
R2 = ไม่มีความสามารถ แต่ เต็มใจที่จะทำ ถือว่า “ความพร้อมปานกลาง”
R3 =มีความสามารถ แต่ ไม่มีความเต็มใจที่จะทำ ถือว่า “ความพร้อมปานกลาง”
R4 =มีความสามารถและเต็มใจที่จะทำ ถือว่า “ความพร้อมสูง”
R1= ไม่มีความสามารถและไม่มีความเต็มใจที่จะทำ ถือว่า “ความพร้อมต่ำ”
2.เปลี่ยนชื่อรูปแบบผู้นำ 4 รูปแบบ
S1 คือ การออกคำสั่ง (Direction)
S2 คือ การสอนงาน (Coaching)
S3 คือ การสนับสนุน (Supporting)
S4 คือ การมอบหมายงาน (Delegating)
1.เปลี่ยนระดับความพร้อมของผู้ตามเป็น ความสามารถและความผูกพัน
3.แบ่งพฤติกรรมพื้นฐานของผู้นำเป็น 4 แบบ
งานสูง – สัมพันธ์ต่ำ(S1)(Telling)สั่งการ
งานสูง – สัมพันธ์สูง(S2)(Selling) ขายความคิด
งานต่ำ–สัมพันธ์สูง(S3)(Participating)แบบมีส่วนร่วม
งานต่ำ–สัมพันธ์ต่ำ(S4)(Delegating)มอบอำนาจ
4.แบ่งผู้นำตามลักษณะความพร้อมด้านวุฒิภาวะของผู้ตาม
ความสามารถ
ความเต็มใจ
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก(NEO–Classical Theory)
เอลตัน เมโย (Elton Mayo)
พบว่าวิธีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานสามารถทำได้โดยต้องทุ่มเทสนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน
การทดลองของฮอร์ธอร์น(Hawthone studies)
ทำให้ทราบว่าผลผลิตจะเพิ่มสูง
ได้นั้น ความสำคัญอยู่ที่ปัจจัยด้านจิตวิทยาและปัจจัยทางสังคมของผู้ทำงานไม่น้อยกว่าปัจจัยตัวงานผู้บริหารทุกคน
การนำแนวคิดมาใช้ในการบริหารการพยาบาล
การให้อิสระแก่บุคลากรพยาบาล
การจัดให้มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างเพื่อนร่วมงาน
การยืดหยุ่นกฎระเบียบในการทำงาน
การปฏิบัติต่อบุคลากรโดยเข้าใจใน
ค่านิยม ความเชื่อ อารมณ์ ความรู้สึกของบุคคล
แมคเกรเกอร์(Douglas McGregor)
เจ้าของทฤษฎีเอ็กซ์และวาย (X and Y theory)
ทฤษฎีเอ็กซ์ที่ถือว่าคน
ทุกคนเกียจคร้านชอบเลี่ยงงานจึงต้องใช้วิธีบังคับข่มขู่ และควบคุมให้ทำงานตลอดเวลา
ทฤษฎีวายนั้นกลับ
มองว่าโดยทั่วไปคนทุกคนเป็นคนดี ซื่อสัตย์ รักงาน และพร้อมจะรับผิดชอบเสมอ
ผู้บริหารการพยาบาล
ทฤษฎีเอ็กซ์ มีแนวโน้มที่จะมองผู้ใต้บังคับบัญชาในแง่ลบ
ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยทั่วไปขี้เกียจและหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบงาน พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารยึดเอาความถูกต้อง
กฎแห่งเกมส์ คือ กฎหมายและระเบียบที่ออกมาสอดคล้องกับการบริหารตามทฤษฎีเอ็กซ์ สำหรับการ
บริหารราชการไทย ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนกฎหมายนี้จัดลักษณะโทษไว้หลายสถาน
เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาตามลักษณะความผิด
ทฤษฎีวาย มีแนวโน้มที่จะมองผู้ใต้บังคับบัญชาในแง่บวก
มองว่าบุคลากรที่ร่วมงานในการบริหารการพยาบาล มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุมตนเองได้ ไม่ต้องควบคุมบังคับบัญชาและตรวจสอบ ไม่จำเป็นต้องลงโทษ แต่จูงใจให้ทำงาน
วิลเลี่ยม กูซี่ (William G. Quchi)
แนวคิดของทฤษฎีแซด
1) ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกัน โดยอยู่ในกรอบของปรัชญาองค์การที่
ระบุไว้
2) ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกัน เพราะสภาพแวดล้อมของงานที่จัดไว้ ทำให้เกิดช่องว่างของ
ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกโดยไม่จำเป็น
3) ผู้ปฏิบัติงานต่างก็มีจิตสำนึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ
ความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
4) ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจได้ โดยทำงานไม่บกพร่อง ผู้บริหารเพียงแต่เอาใจใส่ ดูแลสวัสดิภาพและ
ความเป็นอยู่ให้ดีเท่านั้น
เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่น แต่อเมริกาได้นำมาประยุกต์เป็นรูปแบบ วิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพ โดยให้แนวคิดว่าการบริหารจะให้ผลดีกว่า ถ้าให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการตัดสินใจบริหาร
ใช้พฤติกรรมศาสตร์
(behavior theory)
เป็นการบริหารงานตามแนวมนุษย์สัมพันธ์(human relationsapproach)
ทฤษฎีการบริหารแบบใหม่กว่าเดิมเน้นลักษณะและผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในองค์การ
.เชสเตอร์ บาร์ นาร์ด
“เป็นบิดาแห่งการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์” (Behavioral Science)
เขียนหนังสือหน้าที่ของนักบริหาร (Function of the Executive) ปี ค.ศ. 1938
นำเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวกับพฤติกรรมความร่วมมือ
องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ จะสามารถทำให้เกิดวัตถุประสงค์อันเดียวกันในระหว่างองค์การและสมาชิก
สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การติดต่อสื่อสาร
อับราฮัม มาสโลว์(AbrahamMaslow)
นักจิตวิทยาที่ค้นเรื่องลำดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ ในปี ค.ศ. 1985
มนุษย์มีความต้องการรอยู่ตลอดเวลาและไม่สิ้นสุด ความต้องการของมนุษย์จะเป็นไปตามลำดับชั้นจากต่ำ ไปหาสูง
เฟรเดริคเฮิร์ซเบิร์ก (Frederick Herzberg)
ปัจจัยค้ำจุน (Hygiene Factors)
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพอใจในการทำงาน แต่ยังไม่พอที่จะนำไปใช้ในการจูงใจ ถือวาเป็น“ ปัจจัยภายนอก (Extrinsic) ”
ปัจจัยจูงใจ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทำงานอย่างมีความสุข และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ซึ่งถือว่าเป็น “ปัจจัยภายใน (Intrinsic)”