Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 3การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่
จะช่วยให้สามารถสร้างเสริมสุขภาพของวัยผู้ใหญ่ได้อย่างเหมาะสม
-จะทาให้บุคคลมีสุขภาพแข็งแรง
-ทำให้บุคคลวัยผู้ใหญ่สามารถกระทำบทบาทหน้าที่อื่นๆได้อย่างสมบูรณ์
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่
1.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
2.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตใจ
3.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
4.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่
ด้านร่างกาย
-การออกกาลังกาย
-การรับประทานอาหาร
-สนับสนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจาปี
ด้านจิตอารมณ์
-พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับตน และในส่วนที่สัมพันธ์กับผู้อื่น
-สร้างเสริมเทคนิคการจัดการความเครียด
-สร้างเสริมสุขภาพจิตหญิงวัยหมดประจาเดือนและชายวัยทอง
-ส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างถูกวิธีและให้กาลังใจในการเผชิญปัญหา
ด้านสังคม
-ส่งเสริมการปรับตัวเข้ากับแบบแผนชีวิตแบบใหม่และบทบาทในสังคมเช่น การเตรียมตัวมีคู่ชีวิตการปรับตัวเข้ากับคู่ครอง
-ส่งเสริมความผูกพันของพ่อแม่กับลูกวัยทารก
-ส่งเสริมการบริหารเวลาที่เหมาะสม
ด้านจิตวิญญาณ
-ส่งเสริมการมีที่พึ่งทางจิตวิญญาณ
การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้สูงอายุ
การดูแลตนเองในด้านโภชนาการและสารน้ำ
•ให้ได้รับพลังงานพอเพียงควบคุมน้าหนัก
•จัดโปรแกรมการออกกาลังกายอย่างสม่ำเสมอ
•ควรได้รับคาร์โบไฮเดรทเชิงซ้อน
•หลีกเลี่ยงน้าตาลฟอกสี
•ลดอาหารไขมันทุกชนิด
•การได้รับน้าที่เพียงพอ
•การใช้ยา อาหารเสริม
•สุขภาพของช่องปาก
•ค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะพร่องโภชนาการ
ชนิดของการออกกำลังกาย
1การออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก
2 การออกกำลังกายแบบไอโซโทนิค
3 การออกกำลังกายแบบไอโซคิเนติก
รูปแบบการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุ
1.การเดิน หรือวิ่งช้า ๆ (เหยาะ)
2.การออกกำลังกายโดยวิธีกายบริหาร
การออกกำลังกายโดยวิธีว่ายน้า –เดิน ในน้า
5.การรามวยจีน
6.การออกกาลังกายโดยวิธีฝึกโยคะ
4.การออกกำลังกายโดยวิธีขี่จักรยาน
7.การออกกาลังโดยวิธีฝึกในสวนสุขภาพ
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
1.ควรได้รับการตรวจร่างกายก่อน
2.ประเมินระดับการทากิจกรรม การเคลื่อนไหวข้อ (ROM)ความแข็งแรงและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ให้ความสำคัญกับความสม่าเสมอความเร็วต่า
4.ตรวจสอบอัตราเต้นของหัวใจก่อนและระหว่างการออกกำลังกาย
5.ควรมีการอบอุ่นร่างกายอย่างน้อย 10 นาที
6.ใช้เวลาติดต่อกัน 20-30 นาที
7.มีระยะผ่อนคลายหลังออกกำลังกาย 10นาที
8.เริ่มออกกาลังกายแบบประคับประคองแล้วค่อยๆ เพิ่มกิจกรรมขึ้น
อาการที่ต้องหยุดออกกำลังกายทันที
หายใจไม่อิ่ม
เหนื่อยมาก
เจ็บหน้าอกปวดแน่นที่ลิ้นปี่
เหงื่อออกมากตัวเย็น
อ่อนแรงหัวใจเต้นเร็วหน้ามืดวิงเวียนศีรษะ
การส่งเสริมการมีกิจกรรม
•ประเมินความแข็งแรงและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ และสภาพของจิตใจ
•พัฒนาโปรแกรมการออกกำลังกาย
•จัดให้ผู้สูงอายุมีท่าที่ถูกต้องและเปลี่ยนท่าในผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
•ส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดี
•อาจใช้ไม้เท้าช่วยในการเดิน อุปกรณ์อื่นๆ
•กระตุ้นผู้ดูแลในการกระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวมากขึ้น
•คำนึงถึงความสนใจและระดับความสามารถ
•สังเกตภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการไม่เคลื่อนไหว
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาการนอนหลับ
ประเมินแบบแผนการนอน สิ่งรบกวน แบบแผนกิจกรรม
เพิ่มกิจกรรมในตอนกลางวัน ลดการนอนงีบ
รักษาอุณหภูมิห้องให้อบอุ่นอยู่ระหว่าง21-24 C
4.ควบคุมสิ่งรบกวนการนอนเช่นเสียงและไฟ
5.ปัสสาวะก่อนเข้านอน
สาเหตุของอุบัติเหตุ
สาเหตุจากร่างกายผู้สูงอายุ
การมีกิจกรรมของผูสู้งอายุ
สิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
1.ภายในบ้านต้องมีแสงสว่างที่เพียง
2.ไม่วางของเกะกะบนพื้นหรือทางเดิน
3.พื้นบ้านไม่ควรมีหลายระดับ ควรเป็นพื้นราบ ระนาบเดียวกัน
2.พื้นบ้านต้องไม่ใช้วัสดุเป็นผิวมันลื่นหรือขัดมัน
การป้องกันอุบัติเหตุนอกบ้าน
ไม่ปล่อยให้ผู้สูงอายุเดินข้ามถนนคนเดียว
หากจาเป็นต้องพาผู้สูงอายุไปนอกบ้าน ไม่ควรปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่ตามลาพัง
หลีกเลี่ยงการให้ผู้สูงอายุเป็นผู้ขับขี่รถยนต์หรือยานพาหนะอื่นๆ
ไม่ควรให้ผู้สูงอายุทางานที่มีเครื่องจักรกล
ไม่ควรให้ผู้สูงอายุอยู่ใกล้บริเวณที่มีไฟ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
1.ความต้องการพลังงานในผู้สูงอายุ
2.ความต้องการโปรตีน
3.ความต้องการไขมัน
4.ความต้องการคาร์โบไฮเดรต
ความต้องการของแร่ธาตุ
6.ความต้องการวิตามิน
7.ความต้องการน้ำ
ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
1.ภาวะโภชนาการเกิน
2.ภาวะโภชนาการต่ำ