Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก ทฤษฎีระบบ และทฤษฎีตามสถานการณ์ - Coggle…
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก ทฤษฎีระบบ และทฤษฎีตามสถานการณ์
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก(NEO–Classical Theory)
เชสเตอร์ บาร์นาร์ด (Chester I. Barnard. 1938)
นักคิดคนสําคัญของทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ได้รับยกย่องเป็น บิดาแหงการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science) มีแนวคิดเกี่ยวกับ องคการไว้ว่า องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อจะทํากิจกรรมอย่างใดอยางหนึ่งให้สําเร็จด้วยความร่วมแรงร่วมใจดังกล่าว จะสามารถทําให้เกิดวัตถุประสงค์อันเดียวกันในระหว่างองค์การและสมาชิก ความเต็มใจของสมาชิกจะทําใหเกิดความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ได้นั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดคือ การติดตอสื่อสาร เพื่อความเข้าใจในวัตถุประสงค์สู่แนวทางการปฏิบัติด้วยการโน้มน้าวจิตใจเป็นการจูงใจทางจิตใจมากกว่าการจูงใจทางด้านวัตถุ
อับราฮัม มาสโลว์ (AbrahamMaslow)
เป็นนักจิตวิทยาที่คนเรื่องลําดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ ในปี ค.ศ. 1985 มนุษย์มีความต้องการอยู่ตลอดเวลาและไมสิ้นสุด ความต้องการของมนุษย์จะเป็นไปตามลําดับขั้นจากตำ่ไปหาสูง
เฟรเดริคเฮิรซเบิรก (Frederick Herzberg)
ปัจจัยจูงใจ คือปัจจัยที่ก่อให้เกิดเเรงจูงใจในการทำงานอย่างมีความสุข และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ถือว่าเป็นปัจจัยภายใน
ปัจจัยค้ำจุน คือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการทำงาน แต่ยังไม่พอที่จะไปใช้ในการจูงใจ ถือว่าเป็นปัจจัยภายนอก
ทฤษฎีระบบ(System theory)
ระบบปิด (Closed system) คือระบบที่พึ่งตนเองได้ มีความสมบูรณ์ภายในตัวเองไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่น
ระบบเปิด (Open system) คือระบบที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ แลกเปลี่ยนผลประโยชน์อย่างสมดุลกัน
องค์ประกอบของทฤษฎีระบบ(System theory)
1.ปัจจัยนำเข้า (Inputs)
2.กระบวนการแปรสภาพ (Transformation Process)
ผลผลิต (Outputs)
4.ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)
สิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory)
1 ฟีดเลอร์พัฒนารูปแบบจำลอง เสนอว่าตัวแปรผันสถานการณ์ที่สำคัญที่มีผลต่อแบบของผู้นำ ได้แก่ อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง การยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา
2 Victor Vroom, Phillip Yetton and Jago เสนอทฤษฎีความเป็นผู้นำเชิงสถานการณ์ Leader Participation Model หลักการสำคัญคือ การเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
3 โรเบิร์ตเฮาส์ (Robert House) เสนอแนวความคิดผู้นำเชิงสถานการณ์ทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมาย (Path-goal Theory) เฮาส์มีความเห็นว่าภาวะผู้นำเกี่ยวข้องกับการจูงใจแบบของภาวะผู้นำขึ้นอยู่กับสถานการณ์คือความคลุมเครือของงานและความพอใจในงานที่ทำผู้นำสามารถให้ความสำคัญทั้งคนและงานในเวลาเดียวกันโดยใช้อิทธิพลของแรงจูงใจทฤษฎีของเฮาส์กล่าวได้ว่าใช้แรงจูงใจเป็นแรงผลักให้สู่เป้าหมายทั้งส่วนบุคคลและขององค์การ
4 เฮร์เซย์และแบลนชาร์ด (Hersey and Blanchard) ทฤษฎี“ วงจรชีวิต "ของเฮร์เซย์และแบลนชาร์ดเสนอทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์
R1 หมายถึงไม่มีความสามารถและไม่มีความเต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อม
R2 หมายถึงไม่มีความสามารถ แต่เต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมปานกลาง
R3 หมายถึงมีความสามารถ แต่ไม่มีความเต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมปานกลาง
R4 หมายถึงมีความสามารถและเต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมสูง
ทฤษฎีผู้นำเชิงสถานการณ์ของ เฮอร์เซย์ และแบลนชาร์ด
รูปแบบผู้นำ
S1 คือการออกคำสั่ง (Direction)
S2 คือการสอนงาน (Coaching)
S3 คือการสนับสนุน (Supporting)
S4 คือการมอบหมายงาน (Delegating)
แบ่งพฤติกรรมพื้นฐานของผู้นำมี
1(Telling) สังการงานสูงสัมพันธ์สูง
2(Selling) ขายความคิดงานต่ำ-สัมพันธ์สูง
3.(participating) แบบมีส่วนร่วมงานต่ำ – สัมพันธ์ต่ำ
4.(delegating) มอบอำนาจ
ตามลักษณะความพร้อมด้านวุฒิภาวะตามความพร้อมของผู้ใต้บังคับบัญชา
ความสามารถ
ความเต็มใจ