Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการบริหาร - Coggle Diagram
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือตั้งเดิม (Classical Theory)
ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
เกิดในช่วงอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว ใช้วิธีตั้งปัญหาและหาแนวทางไปสู่จุตหมายที่ต้องการ
เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์(Frederick winslowtay/or) >> ปัญหาที่คนทำงานไม่เต็มศักยภาพแก้ไขไต้ด้วยการออกแบบงานและสิ่งจูงใจใหม่ๆ โดยเสนอหลักสำคัญไว้ 4 ประการ ดังนี่
กำหนดวิธีการทำงานแทนการลองผิดลองถูก
มีการวางแผนแทนที่จะให้คนงานเลือกงานเอง
คัดเลือกคนงานที่มีความสามารถแล้วฝึกอบรม
ใช้หลักแบ่งงานกันทำระหว่างผู้บริหารและคนงาน การกำหนตวิธีการทำงานที่ดีที่สุด(one best way) ปัจจุบันเรียกว่า time and motion study
เฮนรี่ เกิน(Henry L Gantt) >> นำเอาเทคนิคการจัดตารางสำหรับควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้ เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทงาน เทคนิคการจัดตารางของแก๊นต์เป็นที่นิยมใช้กันถึงปัจจุบัน ช่วยปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพการทำงาน ช่วยควบคุมการจัดงานที่ดี
แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบร(Frank Bunker Gillbreth) สรุปให้เห็นว่า การทำงานตัวยการแบ่ง
งานออกตามความชำนาญเฉพาะค้นและแบ่งงานเป็นส่วนๆ จะทำได้ดียิ่งขึ้น
ลิเลียน กิลเบร(LilianGilbreth) ศึกษาปริญญาเอกต้านจิตวิทยา ซึ่งเป็นงานที่ช่วยส่งเสริมต้านmotion studies ให้ตียิ่งขึ้น ในปี 1915 ทั้งคู่ร่วมกันศึกษาการบริหารโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์ ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาตร์ที่มีการศึกษาแลเป็นแบบแผนเช่นนี้
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (administrative management)
Henry Fayol = ผู้บุกเบิกแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร
2) การจัดองค์การ (organizing)
3)การบังคับบัญชาและสั่งการ (commanding)
4) การประสานงาน (coordinating)
5) การควบคุม (controlling)
1)การวางแผน (Planning)
Luther Gulick and Lyndall Urwick เพิ่มกระบวนการบริหารเป็น 7 ประการ POSDCoRB
Marriner = 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดบุคลากร การอํานวยการ และการควบคุม
Arant and Huckabay = 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์การ การอํานวยการ และการควบคุม
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
1) มีการแบ่งงานกันทํา
2) มีการจัดระบบตําแหน่งหน้าที่ตามสายบังคับบัญชาระดับสูงมายังระดับต่ำ
3) มีการกําหนดระเบียบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ต่างๆ
4) บุคลากรต่างทําหน้าที่ที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการ
5) การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
6) มีความก้าวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ อาชีพมั่นคง
7) มีอํานาจหน้าที่
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก
1.เอลตัน เมโย (Elton Mayo) เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ พบว่าวิธีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานความสําคัญ
แมคเกรเกอร์(Douglas McGregor) เจ้าของทฤษฎีเอ็กซ์และวาย (X and Y theory)
3.วิลเลี่ยมกูซี่ (William G. Quchi) เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่น แต่อเมริกาได้นำมาประยุกต์เป็นรูปแบบ วิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพ โดยให้แนวคิดวาการบริหารจะให้ผลดีกว่า ถ้าให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการตัดสินใจบริหาร
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก (NEO-Cassical Theory)
เชสเตอร์ บาร์นาร์ด
เป็นบิดาแห่งการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
เขียนหนังสือเล่มแรกเกี่ยวกับ พฤติกรรมความร่วมมือ
มีแนวคิดเกี่ยวกับองค์การไว้ว่า องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ
อับราฮัมมาสโลว์
เรื่องลำดับขั้นของความต้องการของมนุษย์
คุณค่าชีวิต
เกียรติยศ
การยอมรับ
ควมมั่นคง
ปัจจัย 4
เฟรเดริคเฮิร์ซเบิร์ก
ปัจจัยจูงใจ คือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทำงานอย่างมีความสุขและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปัจจัยค้ำจุน คือปัจจัยที่ทำให้เกิดความพอใจในการทำงานแต่ยังไม่พอที่จะนำไปใช้ในการจูงใจ ถือว่าเป็นปัจจัยภายนอก
การจัดองค์การแบบแชมรอค
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานจากภายนอก
กลุ่มพนักงานการจัดองค์การแบบนี้สอดคล้องกับแนวคิดการลดขนาดองค์การ
5s Model
SMART :ฉลาดทรงภูมิปัญญา
SMALL : จิ๋วเเต่เเจ๋ว
SIMPLIFY : ทำเรื่องยากให้ง่ายเเละรวดเร็ว
SMOOTH : ความร่วมมือไร้ความขัดเเย้ง
SIMPLIFY : ทำเรื่องยากให้ง่ายเเละรวดเร็ว
องค์การเสมือนจริง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหาร
คน (man) ก่อให้เกิดผลสำเร็จทั้งปริมาณและคุณภาพของงาน
เครื่องจักร (machine) ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า
เงินทุน (money) หล่อเลี้ยงให้กิจกรรมขององค์กรดำเนินไปโดยไม่ติดขัดและวัสดุ
ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่ (Modern theory)
ทฤษฎีระบบประกอบด้วย 5 ส่วนที่สำคัญปัจจัยนำเข้า กระบวนการแปรสภาพ ผลผลิต ข้อมูลย้อนกลับและสิ่งแวดล้อม
ระบบปิด เป็นระบบที่มีความสมบูรณ์ภายในตัวเองไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่นใดและแยกคนจากสภาพแวดล้อมต่างๆ ในสังคม
ระบบเปิด เป็นระบบที่อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์นั้นต้องสมดุล
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ วิธีมุ่งเน้นที่จะให้ยอมรับกันว่าในทางปฏิบัติไม่มีวิธีการบริหารใดที่ที่สุด
ฟีดเลอร์ พัฒนารูปแบบจำลองความเป็นผู้นำตามสถานการณ์เป็นรูปแบบจำลองภาวะผู้นำ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของสถานการณ์ที่มีต่อความเป็นผู้นำ
วรูม และ เยตัน การเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์
หมายถึง เน้นที่จะให้ยอมรับกันว่าในทางปฏิบัติไม่มีวิธีการบริหารใดที่ดีที่สุด
โรเบิร์ตเฮาส์ เสนอแนวคิดทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมาย รูปแบบของภาวะผู้นำขึ้นอยู่กับสถานการณ์
เฮร์เซย์และแบลนชาร์ต
ทฤษฎี“ วงจรชีวิต” 4 แบบ
R1 หมายถึงไม่มีความสามารถและไม่มีความเต็มใจที่จะทำถือว่าวามพร้อมด้า
R2 หมายถึงไม่มีความสามารถ แต่เต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมปานกลาง
R3 หมายถึงมีความสามารถ แต่ไม่มีความเต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมปานกลาง
R4หมายถึงมีความสามารถและเต็มใจที่จะทำถือว่าความพร้อมสูง
ความพร้อมของผู้ตามเป็นความสามารถและความผูกพัน 4 แบบ
S2 คือการสอนงาน
S3คือการสนับสนุน
S4 คือการมอบหมายงาน
S1 คือการออกคำสั่ง
พฤติกรรมพื้นฐานของผู้นำมี 4 แบบ
(Telling) สั่งการงานสูงสัมพันธ์สูง
(Participating) แบบมีส่วนร่วมงานต่ำ-สัมพันธ์ต่ำ
(Delegating) มอบอำนาจแบ่งผู้นำตามลักษณะความพร้อมด้านวุฒิภาวะของผู้ตาม(Delegating) มอบอำนาจแบ่งผู้นำตามลักษณะความพร้อมด้านวุฒิภาวะของผู้ตาม
(Selling) ขายความคิดงานต่ำ-สัมพันธ์สูง
ทฤษฎีการบริหารเชิงปริมาณ(quantitativetheory)
การบริหารศาสตร์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหาร
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร เน้นการออกแบบและการนำเอาระบบข้อมูลสารสนเทศ มาใช้เพื่อการบริหาร
การจัดการปฏิบัติการ เน้นการใช้แนวทางเชิงปริมาณช่วยในการตัดสินใจ
ทฤษฎี 7’S ซึ่งเป็นแนวคิดแบบจำลองของ แมคคินชีย์ (Mc Kinsey)
Hard Ss เป็นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จ
1) โครงสร้าง การจัดระเบียบองค์ประกอบขององค์การที่เหมาะสม
2) กลยุทธ์ แผนกำหนดวิธีการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
3) ระบบ วิธีการดำเนินงาน ได้แก่ ระบบการวางแผน ระบบรายงาน การประเมินผล
Soft Ss เป็นส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จ
1) แบบการบริหาร ลักษณะพฤติกรรมของผู้บริหาร
2) บุคลากร คุณลักษณะของบุคลากร
3) ทักษะ ความสามารถเด่นของผู้บริหาร
4) ค่านิยมร่วม หรือเป้าหมายสูงสุด
5) การบริหารคุณภาพทั้งองค์การ เป็นแนวคิดการบริหารที่ยึดคุณภาพเป็นหัวใจของทุกเรื่อง
การรื้อปรับระบบ การสร้างกระบวนการทำงานขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลง
1) การปรับระบบด้านการจัดการทางการพยาบาล เน้นการบริหารในรูปแบบการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในองค์การ เน้นผู้รับบริการมากกว่ากิจกรรม
2) การปรับระบบด้านบริการพยาบาล ต้องได้รับความสะดวก รวดเร็ว ความพึงพอใจ ได้รับข้อมูลข่าวสาร ได้รับการคุ้มครองตัวสิทธิของผู้ป่วย ระยะเวลานอนโรงพยาบาลสั้น ปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
องค์การสมัยใหม่ (Modern Organization)
1 องค์การแห่งการเรียนรู์
เซ็งกี้ จะเรียนรู้เร็วกว่าคู่แข่งและก่อนจะถูกแรงกดตันให้เปลี่ยนแปลง
Peter แนะนำต้องสร้างวินัย
บุคลากรที่มีความรอบรู้ (personal mastery)
รูปแบบความคิด (mental models)
วิสัยทัศน์ร่วม (shared vision)
การเรียนรู้เป็นทีม (team learning)
ความคิดเป็นระบบ (system thinking)
2 องค์การสมรรถนะสูง
รับมือกับแรงกดตันต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
มีวัฒนธรรมองค์การเป็นตัวยึดเหนี่ยว
มีบริษัทที่ปรึกษาชื่อดังทางต้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์การยุคหลังสมัยใหมู่ (Post Modern Organ'zation)
Peter Boxaso บอกว่าในสังคมยุคลมัยในมจะใช้แนวคิด
ความเป็นเหตุเป็นผล
ระบบราชการ ที่มีคุณลักษณะของ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะต้าน
การรวมอำนาจ
การบูรณาการ มาใช้ในการบริหาร
ความเป็นทางการ
ความเป็นอุตสาหกรรม
แนวคิดของการบริหารองค์การสมัยใหม่
องค์การแห่งการเรียนรู้ เนั้นทำงานและเรียนรู้ควบคู่กันไป
องค์การแบบสิ่งมีชีวิต เน้นทำงานอย่างมีความสุข
องค์การแห่งความเป็นเลิศ มุ่งสู่ความเป็นที่หนึ่ง
องค์การแห่งกลยุทธ์ เน้นการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์