Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร วิชาการบริหารการพยาบาล (Nursing …
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร วิชาการบริหารการพยาบาล (Nursing Administration)
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก(NEO–Classical Theory)
เชสเตอร์ บาร์ นาร์ด (Chester I. Barnard. 1938)
“เป็นบิดาแห่งการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์” (Behavioral Science)
เขียนหนังสือหน้าที่ของนักบริหาร (Function of the Executive) ปี ค.ศ. 1938
เป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับการนำเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวกับพฤติกรรมความร่วมมือ (theory of cooperative behavior)
อับราฮัม มาสโลว์ (AbrahamMaslow)
นักจิตวิทยาที่ค้นเรื่องลำดับขั้นของความต้องการของมนุษย
ในปีค.ศ. 1985
มนุษย์มีความต้องการรอยู่ตลอดเวลาและไม่สิ้นสุด ความต้องการของมนุษย์จะเป็นไปตามลำดับชั้นจากต่ำ ไปหาสูง
เฟรเดริคเฮิร์ซเบิร์ก (Frederick Herzberg)
ปัจจัยจูงใจ คือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทำงานอย่างมีความสุข และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ซึ่งถือว่าเป็น “ปัจจัยภายใน (Intrinsic)”
ปัจจัยค้ำจุน (Hygiene Factors) คือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพอใจในการทำงาน แต่ยังไม่พอที่จะนำไปใช้ในการจูงใจ ถือวาเป็น“ ปัจจัยภายนอก (Extrinsic) ”
ทฤษฎีระบบ(System theory)
Bertalanffyบิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป
ระบบปิด (Closed system) คือระบบที่พึ่งตนเองได้ มีความสมบูรณ์ภายในตัวเองไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่น
ระบบเปิด (Open system) คือระบบที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ แลกเปลี่ยนผลประโยชน์อย่างสมดุลกัน
องค์ประกอบของทฤษฎีระบบ(System theory)
1.ปัจจัยนำเข้า (Inputs)
2.กระบวนการแปรสภาพ (Transformation Process)
ผลผลิต (Outputs)
4.ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)
สิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory)
ฟีดเลอร์พัฒนารูปแบบจำลอง เสนอว่าตัวแปรผันสถานการณ์ที่สำคัญที่มีผลต่อแบบของผู้นำ ได้แก่ อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง การยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา
Victor Vroom, Phillip Yetton and Jago เสนอทฤษฎีความเป็นผู้นำเชิงสถานการณ์ Leader Participation Model หลักการสำคัญคือ การเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ