Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary System) - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
(Urinary System)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วย
ท่อไต (ureter) ทาหน้าที่นาน้าปัสสาวะจากไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder)ทาหน้าที่กักเก็บน้าปัสสาวะไว้ชั่วคราว
ไต (kidney)ทำหน้าที่สร้างน้าปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะ (urethra) เป็นทางของน้าปัสสาวะที่ถูกขับออกจากกระเพาะปัสสาวะออกสู่ภายนอกร่างกาย
kidney
ไตมีอยู่ 1 คู่ สีน้าตาลแดง ลักษณะคล้ายเม็ดถั่ว
ถุงหุ้มไต
ไตแต่ละข้างถูกคลุมด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้นคือ
Renal fascia อยู่นอกสุด
ถุงไขมัน
ลักษณะภายใน
เมื่อนาไตมาผ่าซีก จะเห็นเนื้อไตเป็น 2 ชั้น คือ
1.Cortex อยู่ชั้นนอกของไต
2.Medulla อยู่ชั้นในของไต
โครงสร้างระดับเนื้อเยื่อ
หน่วยไต=ไตประกอบด้วย 2 ส่วน
1) Renal corpuscle
2) Renal tubule
1) Renal corpuscle
1.1 Glomerulus
1.2 Bowman’s capsule
Parietal layer
Visceral layer
Renal corpuscle-ด้านที่เป็นทางเข้าออกของ afferent และ efferent arteriole เรียกว่า vascular pole
องค์ประกอบRenal corpuscle
เนื้อเยื่อของ renal corpuscle
Renal tubule ประกอบด้วย 3 ส่วน
Proximal convoluted tubule (PCT)
Loop of Henle
Distal convoluted tubule (DCT)
-Collecting ductอยู่ใน medulla มีผนังเป็น simple cuboidal epithelium
ส่วนประกอบของ Renal tubule
Endothelial Capsular Membrane
เป็นโครงสร้างใน renal corpuscle
Endothelial cell
Basement membrane
Podocyte
Endothelial Capsular Membrane ในแนว cross section
Juxtaglomerular Apparatus
ควบคุมความดันเลือดและอัตราการกรองของไต ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
Macular Densa
Juxtaglomerular cell
Juxtaglomerular Apparatus
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงไต
Renal plexus ซึ่งเป็นระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบเลือดในไต
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
2) Membranous urethra
3) Penile
1) Prostatic urethra
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
เส้นเลือดแดง
inferior vesical artery
internal pudendal artery
เส้นเลือดดำ
prostatic venous plexus
internal pudendal vein
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง
pudendal nerve รับความรู้สึกทั่วไป
prostatic plexus ระบบประสาทอัตโนมัติ
หน้าที่ เป็นทางเดินของน้าปัสสาวะและอสุจิ
ท่อปัสสาวะในเพศชาย
ท่อปัสสาวะในเพศหญิง
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
เส้นเลือดแดง - inferior vesical artery
เส้นเลือดดา - vesical venous of vein
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง
pudendal nerve รับความรู้สึกทั่วไป
pelvic splanchnic nerve ระบบประสาทอัตโนมัติ
หน้าที่ เป็นทางเดินของน้าปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะในเพศหญิง
หน้าที่ของไต
มีหน้าที่หลักอยู่ 3 อย่าง คือ
กาจัดของเสียออกจากกระแสเลือดทางปัสสาวะ
ควบคุมความเข้มข้นและปริมาตรของเลือด
ควบคุมความเป็นกรด-ด่าง (PH) ของเลือด
การสร้างปัสสาวะมีขบวนการสาคัญอยู่ 3 อย่าง
glomerular filtration
tubular reabsorption
tubular secretion
การกรอง
การดูดซึมโดยหลอดไต
การขับสารจากหลอดไต
ท่อไต (Ureter)
1) Mucous membrane
2) Muscularis
ผนังของ ureter มี 3 ชั้น
3) Fibrosa
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
renal artery
testicular artery (ช)หรือ ovarian artery (ญ)
superior vesical artery
เส้นเลือดดา รับเลือดจากแขนงของ
renal vein
testicular vein (ช) หรือ ovarian vein (ญ)
superior vesical vein
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง เป็นระบบประสาทอัตโนมัติ
renal plexus
testicular vein (ช) หรือ ovarian vein (ญ)
hypogastric plexus
หน้าที่ของท่อไต
เป็นทางเดินของน้าปัสสาวะจากกรวยไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ โดยการหดตัวของชั้นกล้ามเนื้อที่ผนังของหลอดไต ความดันปัสสาวะ และแรงดึงดูดของโลก
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
กระเพาะปัสสาวะเป็นอวัยวะที่มีผนังกล้ามเนื้อที่แข็งแรง สามารถยืดและหดตัวได้ รูปร่างและขนาดจะเปลี่ยนไปตามปริมาณน้าปัสสาวะที่เก็บอยู่
ผนังของกระเพาะปัสสาวะมี 3 ชั้น
Mucous membrane
Muscularis เป็นชั้นกลาง
Serosa ชั้นนอกสุด
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
เส้นเลือดแดง
superior vesical artery
inferior vesical artery
เส้นเลือดดำ
vesical venous plexus และ prostatic venous plexus (ในเพศชาย)
vesical venous plexus และ vaginal venous plexus (ในเพศหญิง)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง เป็นระบบประสาทอัตโนมัติ ได้แก่
pelvic splanchnic nerve เลี้ยง detrusor muscle
pelvic plexus
hypogastric plexus
น้าปัสสาวะในคนปกติ
ในปัสสาวะพบว่า 95%เป็นน้า2.5 %เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นน้ำปัสสาวะปกติจะมีสีเหลืองอ่อน ใส มีค่า pH 5-7 และไม่ควรพบglucose, amino acid, protein, red blood cellในน้ำปัสสาวะ
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะไตวาย (renal failure)
ไตวายเป็น 2 แบบคือไตวายฉับพลัน และไตวายเรื้อรัง
ไตวายเฉียวพลัน อาการสาคัญของไตวายเฉียบพลัน มีปัสสาวะลดลงอย่างรวดเร็วร่วมกับสาเหตุต่างๆ
ไตวายเรื้อรังการสูญเสียหน้าที่ของไตอย่างช้าๆและถาวรหรือมีประวัติไตวายฉับพลันมานานเกิน 3 เดือน
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
พบบ่อยในเพศหญิงในช่วงวัยรุ่นและวัยเจริญพันธุ์ สาเหตุที่โรคนี้พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายหลายเท่า
นิ่วในไต (Kidney stone)
มักเกิดจากการติดเชื้อหรือเกิดความผิดปกติกับขบวนการ metabolism ทาให้ organic และ inorganic substances