Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่(Modern theory) LearningOrg, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวก…
ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่(Modern theory)
ทฤษฎีการบริหารเชิงปริมาณ(quantitative theory)
การบริหารศาสตร์ (management science)
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหาร ซึ่งปัจจุบันวิธีนี้แพร่หลายมากแม้ในการบริหารการพยาบาล เนื่องจากความก้าวหน้าด้านคอมพิวเตอร์ที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างซับซ้อนมากขึ้น ในการบริหารการพยาบาลจะใช้ในรูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
เน็นการออกแบบและการนําเอาระบบข้อมูลสารสนเทศ โดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการบริหาร(Computer basedinformation system : CBISs) จะผลิตข้อมูลและสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับอย่างกว้างขวางและหลากหลาย โดยเฉพาะในการบริหารการพยาบาล หอผู้ป่วย
การจัดการปฏิบัติการ
เป็นทฤษฎีสมัยใหม่ที่พัฒนามาจากทฤษฎีการจัดการ เน้นการใช้แนวทางเชิงปริมาณเข้าช่วยในการตัดสินใจ ทั้งนี้เพราะฝ่ายจัดการซึ่งมีความจําเป็นต้องมีข้อมูลข่าวสารมากขึ้นและข้อมูลต้องมีคุณภาพดี่
การบริการคุณภาพทั้งองค์การ ( T.Q.M = total quality management)
เป็นแนวคิดการบริหารที่ยึดคุณภาพเป็นหัวใจของทุกเรื่อง เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพชนะการแข่งขัน โดยทรัพยากรมนุษย์เป็นตัวสร้างคุณภาพบริการและคุณภาพในการผลิต
การรื้อปรับระบบ (reengineering)
การสร้างกระบวนการทำงานขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลง ประสบการณ์ ตลอดจนวิทยาการต่างๆ ในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าสูงสุดแก่ลูกค้า โดยอยู่บนพื้นฐานกรอบแนวคิด
การปรับระบบด้านการจัดการทางการพยาบาล (nursing management) เน้นการบริหารแบบแมตทริกซ์ (matrix organization) พี่เน้นรูปแบบการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในองค์การ เน้นผู้รับบริการมากกว่ากิจกรรม
การปรับระบบด้านบริการพยาบาล (nursing Service) ได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีความพึงพอใจในการบริการ
ทฤษฎี 7's ซึ่งเป็นแนวคิดแบบจำลองของแมคคินซีย์
Soft Ss เป็นส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จ
ค่านิยมร่วม(shared values)
แบบการบริหาร(Style)
ทักษะ(Skill)
บุคลากร (staff)
Hard Ss เป็นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จ
โครงสร้าง(Structure)
ระบบ (System)
กลยุทธ์(Stratrgy)
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory)
2.1 ฟีดเลอร์พัฒนารูปแบบจำลอง เสนอว่าตัวแปรผันสถานการณ์ที่สำคัญที่มีผลต่อแบบของผู้นำ ได้แก่ อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง การยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา
2.2 Victor Vroom, Phillip Yetton and Jago หลักการสำคัญคือ การเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
2.3 Robert House เสนอแนวความคิดผู้นำเชิงสถานการณ์ ทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมาย(Path-goal Theory) ผู้นำสามารถให้ความสำคัญทั้งคนและงานในเวลาเดียวกันโดยใช้อิทธิพลของแรงจูงใจ
2.4 Hersey and Blanchard ทฤษฎี “วงจรชีวิต” เสนอทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์ (Situational Leadership Theory: SLT) แบ่งระดับความพร้อมของผู้ตามเป็น 4 ระดับ โดยเรียงลำดับต่ำสุดไปสู่สูงสุด
ทฤษฎีระบบ(System theory)
องค์ประกอบ
ผลผลิต (Outputs)
4.ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)
2.กระบวนการแปรสภาพ (Transformation Process)
สิ่งแวดล้อม
1.ปัจจัยนำเข้า (Inputs)
Bertalanffyบิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป นักทฤษฎีแนวนี้ เห็นว่าโลกประกอบด้วยระบบต่างๆ มีลำดับชั้น
ระบบปิด (Closed system)
ระบบที่พึ่งตนเองได้ มีความสมบูรณ์ภายในตัวเองไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่น
ระบบเปิด (Open system)
ระบบที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ แลกเปลี่ยนผลประโยชน์อย่างสมดุลกัน
องค์การสมัยใหม่(Modern Organization)
องค์การแห่งการเรียนรู้
วิสัยทัศน์ร่วม (shared vision)
การเรียนรู้เป็นทีม(team learning)
รูปแบบความคิด(mental models)
ความคิดเป็นระบบ (system thinking)
บุคลากรที่มีความรอบรู้ (personal mastery)
องค์การสมรรถนะสูง
2.การมีค่านิยมร่วมกันของบุคลากรทั่วทั้งองค์การ (Shared values)
3.การมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์และการทําให้ทั่วทั้งองค์การดําเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน (Strategic focus and alignment)
การตั้งเป้าหมายที่ท้าทายและแสวงหาแนวทางในการบรรลุเป้าหมายนั้น (Setting ambitious targets and achieving them)
องค์การยุคหลังสมัยใหม่
ทฤษฎีไร้ระเบียบ หรือที่มี่ชื่อเรียกว่า Chaos theory
ความจริงเป็นทฤษฎีทางฟิสิกส์แขนงหนึ่ง ที่ศึกษาถึงกฎเกณฑ์และคุณสมบัติของปรากฏการณ์ทางวัตถุ ที่มักเกิดความยุ่งเหยิงขนาดเล็ก ๆ ขึ้น กล่าวคือ สรรพสิ่งเคลื่อนไหวไปตามกฎทางธรรมชาติ แต่บางสภาวะก็จะมีสภาพที่ผิดธรรมชาติขึ้น กล่าวคือ ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่อยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ทั่วไปได้ ต้องใช้ Chaos theory
การจัดองค์การแบบแชมรอค(Shamrock
(2) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานจากภายนอก(outsourcing vendors)
(3) กลุ่มพนักงานแนวคิดการลดขนาดองค์การ(downsizing)เพราะองค์การแบบแชมรอคจะช่วยลดจำนวนผู้ปฏิบัติงานประจำลง
(1) กลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ(professional core)
5s Model
SMILE : ยิ้มเเย้ม ความสุข
SMOOTH : ความร่วมมือไร้ความขัดเเย้ง
SMART : ฉลาดทรงภูมิปัญญา
มีความเเปลกใหม่ มีนวัตกรรมใหม่
SIMPLIFY : ทําเรื่องยากให้ง่ายเเละรวดเร็ว
SMALL : จิ๋วเเต่เเจ๋ว องค์การขนาดเล็กลงเเต่มีคุณภาพขึ้น
องค์การเสมือนจริง
3.มีความยืดหยุ่น (Flexibility)
4.มีความไว้วางใจ (Trust)
2.สังคมกับชุมชนเครือข่ายมีการ ร่วมมือและพึ่งพากัน
5.การบริหารตนเอง (SelfOrganization)
6.ขอบเขตขององค์การไม่ชัดเจน
1.การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
7.ไม่มีสถานที่ตั้งองค์การ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม(Classical Theory)
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร(administrative management)
เฮ็นรี่ ฟาโยล(Henry Fayol)
หน้าที่พื้นฐานและหลักการบริหารดีพอ (POCCC)
3)การบังคับบัญชาและสั่งการ(commanding)
4) การประสานงาน (coordinating)
2) การจัดองค์การ (organizing)
5) การควบคุม (controlling)
1) การวางแผน (planning)
พัฒนาหลักการบริหารขึ้น 14 ประการ
5) หลักความเป็นเอกภาพในทิศทาง (unity of direction)
6) หลักผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นรองผลประโยชน์ขององค์การเป็นหลัก(subordination of individual interest to general Interest)
4) หลักความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชา(unity of command)
7) หลักความยุติธรรมต่อทั้งนายจ้างและลูกจ้าง (remuneration)
3) หลักการเกี่ยวกับมีระเบียบวินัย (discipline)
8) หลักการรวมศูนย์อำนาจ (centralization)
2) หลักการเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชา(authority) ควบคู่กับความรับผิดชอบ(responsibility)
9) หลักการมีสายบังคับบัญชา (hierarchy/scalar chain)
10) หลักความเป็นระเบียบแบบแผน (order)
11) หลักความเสมอภาค (equity) เป็นมิตรและมีความยุติธรรมต่อผู้ปฏิบัติ
1) หลักการแบ่งงานกันทำ (division of work)
12) หลักความมั่งคงในการทำงาน (stability of staff)
13) หลักความริเริ่มสร้างสรรค์ (initiative)
14) หลักความสามัคคีหรือความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน (spirit de corps)
2.2 ลูเทอร์ กูลิคและลินดอลล์เออร์วิค(Luther Gulick and LyndallUrwick) ได้เพิ่มจากเดิมเป็น 7 ประการ เรียกว่า POSDCoRB บางขั้นตอนซ้ำซ้อนก็ควรปรับปรุงให้ลดลง
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
แมกซ์ วีเบอร์ (Max Weber) เน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญสามารถสร้างแนวทางการดำเนินบริหารแบบระบบราชการ
3) มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ต่างๆ (rule, regulation and procedures)
4) บุคลากรต่างทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ (impersonal)
2) มีการจัดระบบตำแหนงหน้าที่ตามสายบังคับบัญชาระดับสูงมายังระดับต่ำ (scalar chain)
5) การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ (professional qualities)
1) มีการแบ่งงานกันทำ (division of work)
6) มีความก้าวหน้าในตำแหนงหน้าที่ (career aspects) อาชีพมั่นคง
7) มีอำนาจหน้าที่ (legal authority) ตามตำแหน่ง
ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
เฮนรี่ แก๊นต์(Henry L Gantt)
จัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน Gantt’s chart ตารางเส้นตรงที่กำหนดเวลาในอนาคตไว้ในแนวนอนและงานที่ปฏิบัติไว้ในแนวตั้ง ต่อมาคิดเพิ่มเป็น Gantt’s Milestone Chart แสดงความก้าวหน้าของงาน
แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบรธ
ศึกษาความเคลื่อนไหว ความเบื่อหน่ายและผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคนงาน สนับสนุนแนวคิดของเทเล่อร์ การทำงานด้วยการแบ่งงานออกตามความชำนาญเฉพาะด้านและแบ่งงานเป็นส่วนๆ (division of work)
เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์
บิดาการบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์
เชื่อว่าฃคนทำงานไม่เต็มศักยภาพแก้ได้ด้วยการออกแบบงาน จัดสิ่งจูงใจใหม่ๆ
หลักที่สำคัญ
1) กำหนดวิธีการทำงานแทนการทำแบบลองผิดลองถูก
2) วางแผนแทนให้คนงานเลือกวิธีการเอง
3) คัดเลือกคนงานมีความสามารถ อบรมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆร่วมกัน
4) แบ่งงานกันทำระหว่างผู้บริหารและคนงาน “การกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด”
ลิเลียน กิลเบรธ(LilianGillbreth)
ศึกษาป.เอก ด้านจิตวิทยา ส่งเสริมงานด้าน Motion Studies ในปี 1915 ทั้งคู่ร่วมมือกันศึกษาการบริหารโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์ = ครั้งแรกในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมที่มีการศึกษาเป็นแบบแผนเช่นนี้
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก(NEO–Classical Theory)
1.เอลตัน เมโย (Elton Mayo)
เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ พบว่าวิธีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน สามารถทําได้โดยต้องทุ่มเทสนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทํางานโดยการทดลองของฮ(Hawthone studies) เกี่ยวกับพฤติกรรมของคนงาน
แมคเกรเกอร์(Douglas McGregor)
เจ้าของทฤษฎีเอ็กซ์และวาย (X and Y theory) ได้วางหลัสมมติฐานเกี่ยวกับคนเป็น 2 แนว ตรงกันข้ามกัน
3.วิลเลี่ยม กูซี่ (William G. Quchi)
เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่น แต่อเมริกาได้นํามาประยุกต์เป็นรูปแบบ วิธีการทํางานแบบกลุ่มคุณภาพ โดยให้แนวคิดว่าการบริหารจะให้ผลดีกว่า
ให้ความสําคัญกับกลุ่มไม่ใช่ตัวบุคคล แนวคิดของทฤษฎีแซด
1) ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกัน โดยอยู่ในกรอบของปรัชญาองค์การ
2) ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกัน เพราะสภาพแวดล้อมของงานที่จัดไว้ ทําให้เกิดช่องว่างของความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกโดยไม่จําเป็น
3) ผู้ปฏิบัติงานต่างก็มีจิตสํานึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
4) ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจได้ โดยทํางานไม่บกพร่อง ผู้บริหารเพียงแต่เอาใจใส่ ดูแลสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ให้ดีเท่านั้น
4.เชสเตอร์ บาร์นาร์ด
บิดาแหงการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science)
องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อจะทํากิจกรรมอย่างใดอยางหนึ่งให้สําเร็จด้วยความร่วมแรงร่วมใจดังกล่าว จะสามารถทําให้เกิดวัตถุประสงค์อันเดียวกันในระหว่างองค์การและสมาชิก
5.อับราฮัม มาสโลว์
ลําดับขั้นของความต้องการของมนุษย์
6.เฟรเดริคเฮิรซเบิรก
ปัจจัยจูงใจ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดเเรงจูงใจในการทำงานอย่างมีความสุข และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก
ปัจจัยค้ำจุน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการทำงาน แต่ยังไม่พอที่จะไปใช้ในการจูงใจ