Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง และมีปัญหาสุขภาพ - Coggle…
การแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง
และมีปัญหาสุขภาพ
ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
บุคคลที่อยู่ร่วมกันที่มีปัจจัยภายในตัวบุคคลของคนใดคนหนึ่งหรือทั้งคู่และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของครอบครัวที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหารุนแรงในครอบครัว
ครอบครัวที่มีปัญหาแตกแยก
(Broken home, familybreakdown problem)
ชนิด
มีการทะเลาะ วิวาทกันเป็นประจำ
มีบิดา มารดา
มีการหย่าร้างหรือแยกกันอยู่
มีบิดา หรือมารดา
เพียงคนเดียว
สาเหตุ
ขนาดของครอบครัวที่เล็กลง
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของสามี และภรรยา
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติตามสมัย การหย่าร้างไม่ใช่เรื่องที่น่ารังเกียจ
สภาพวัฒนธรรมและสังคมที่เปลี่ยนแปลง
ภาวะที่ครอบครัวเกิดความไม่
ปรองดองระหว่างสมาชิกภายในครอบครัว
วงจรชีวิตของครอบครัวที่หย่าร้าง
ระยะแยกทางกัน (Separation stage)
ในระยะนี้สามีและภรรยาต่างก็ตัดสินใจแน่นอน
ระยะปรับตัว (Adjustment stage)
ระยะก่อนหย่าร้าง (Predivorce stage)
ระยะนี้คู่สมรสพยายามรักษาชีวิตแต่งงานเอาไว้ให้
นานที่สุดด้วยวิธีต่างๆทั้งโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ
ผลกระทบการหย่าร้าง
เด็ก
เกิดอารมณ์ซึมเศร้า โกรธ ขาดสมาธิใน การเรียนและวิตกกังวล
นอกจากนี้เด็กยังมีความขัดแย้งในจิตใจไม่รู้จะเข้าข้างพ่อหรือแม่
วัยรุ่น
วัยรุ่นไม่สามารถแยกตัวเองออกไปจากพ่อแม่
และสร้างความสัมพันธ์ที่เหมาะสมกับคนภายนอกได้
คู่สมรส
คู่สมรส และคนในครอบครัว เกิดความรู้สึกโกรธ เกลียด สูญเสียเศร้า ท้อแท้ บางราย ฆ่าตัวตาย
สังคม
อาจเกิดการกลับมาทำร้ายร่างกาย
ครอบครัวที่มีปัญหาพ่อแม่อายุน้อย
(Family problem with young parents)
สาเหตุ
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ไม่ได้คุมกำเนิด
ขาดความรู้เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์
การใช้ยาต่างๆ เช่น เหล้า ยาเสพติด
สภาพทางสังคม หรือในครอบครัว
ผลกระทบ
สุขภาพของมารดาและเด็ก
การเจริญเติบโตทั้งของมารดาและเด็ก
การขาดการดูแลเด็ก ขาดประสบการณ์และวุฒิภาวะในการเลี้ยงดูบุตร
การตั้งครรภ์ซ้ำ
ปัญหาโรคเพศสัมพันธ์
โครงสร้าง บทบาทและการทำหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไปและค่าใช้จ่ายในครอบครัว
สังคม
การทำแท้ง
ประเทศชาติในการพัฒนาคนโดยเฉพาะด้านการศึกษา
การแก้ไขปัญหา
ครอบครัวพ่อแม่อายุน้อย
การป้องกันระยะที่สอง (Secondary Prevention)
เป็นการค้นหา
หรือตรวจหา
ในระยะเริ่มแรก
การให้คำปรึกษา
การป้องกันระยะที่สาม
(Tertiary Prevention)
ระยะนี้เป็นการส่งเสริมและสนับสนุน
ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่างพ่อ แม่
และลูก การให้ความรู้พัฒนาการของเด็ก
การป้องกันระยะแรก
(Primary prevention)
โดยควรเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว
โดยการให้ความรู้
ครอบครัวที่มีปัญหามีบุตรยาก
(Family problem with Infertility)
ภาวะที่คู่สามี ภรรยา มีความสัมพันธ์ทางเพศปกติ สม่ำเสมอโดย
ไม่ได้คุมกำเนิดเป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี แล้วยังไม่สามารถตั้งครรภ์ได้
ปฐมภูมิ
(Primary infertility)
ภาวะที่สตรีไม่เคยตั้งครรภ์หรือมี
บุตรเลยตั้งแต่สมรส
ทุติยภูมิ
(Secondaryinfertility)
ภาวะที่สตรีเคยมีการตั้งครรภ์มาอย่างน้อย 1 ครั้ง ซึ่งนับรวมการตั้งครรภ์นอกมดลูกและการแท้งร่วมด้วย แต่ไม่สามารถตั้งครรภ์ใหม่ได้อีกหลังจากพยายามมีบุตรในระยะเวลา ๑ ปี
สาเหตุ
ตัวอสุจิน้อย ปัจจัยทางฮอร์โมน การอักเสบติดเชื้อ ระบบภูมิคุ้มกัน ปัจจัยการเดินทางหรือการหลั่งอสุจิ การเจ็บป่วย
ภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิและการขาดความรู้ทางเพศ
หรือการปฏิบัติเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ปัจจัยทางฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อ การอักเสบติดเชื้อ ระบบภูมิคุ้มกัน
ท่อนำไข่อุดตัน การเจ็บป่วย อามรณ์ จิตใจ และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและสารเคมี
อายุของสตรีที่เกิน ๓๕ ปี ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
ระยะเวลาของ การสมรส การคุมกำเนิด
บทบาทพยาบาลในการดูแลครอบครัวที่มีบุตรยาก
๔) ที่ปรึกษา (Consultant)
๕) เป็นผู้ให้การการสนับสนุน (Supporter)
๓) ผู้สอนสุขศึกษา (Health educator)
๖) การบำบัดทางปัญญา (Cognitive intervention)
๒) ผู้แนะแนว (Counselor)
๗) การฝึกการเผชิญปัญหา (Coping training)
๑) ผู้ให้คำปรึกษา (Interpersonal counseling)
ครอบครัวที่มีปัญหาวิกฤติ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือในครอบครัว
ทำให้ถูกรบกวนหรือมีผลต่อความสงบสุขโดย
และมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดความเสียหาย
สาเหตุ
ตามพัฒนาการ
วัยก่อนเรียน เป็นระยะที่กำลังเรียนรู้ทั้งด้านภาษาและการใช้กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหว
วัยเรียน เป็นระยะที่ขยัน เรียนรู้ทักษะด้านร่างกาย ความคิด การเข้าสังคม
ระยะวัยเตาะแตะ เป็นระยะที่สามารถควบคุมตนเองได้
วัยรุ่น เป็นระยะที่มุ่งค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง เลียนแบบ idol
ระยะวัยทารก เป็นระยะสร้างความไว้วางใจ
วัยหนุ่มสาว หรือวัยผู้ใหญ่เริ่มต้น เป็นระยะที่เริ่มมีสัมพันธภาพใกล้ชิดกับต่างเพศ
วัยกลางคน เป็นระยะที่สร้างครอบครัว รับผิดชอบ และทำงานหนัก
วัยชรา เป็นระยะที่เป็นช่วงสุดท้ายของชีวิต
ครอบครัว จากสถานการณ์หรือเหตุการณ์
การหย่าร้างหรือแยกกันอยู่ของคู่สมรส
การเจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ
การเสียชีวิต
การถูกออกจากงาน หรือการเกษียณอายุ
อาการ
ร่างกายผิดปกติ ได้แก่ เหงื่อออก ตัวเย็น
การแสดงพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ เดินเร็ว ขว้างปาสิ่งของ
แสดงอารมณ์ ได้แก่ กลัว วิตกกังวล โกรธ ผิด อาย
ภาวะวิกฤติในระยะต่างๆ
ระยะที่ 2 ระยะที่มีความตึงเครียด
ระยะที่ 3 ไม่สามารถแก้ไขความตึงเครียดได้
ระยะที่ 1 ระยะเริ่ม เป็นระยะที่บุคคลเริ่มเผชิญกับปัญหาซึ่งพยายามท าให้มีความสมดุลเกิดขึ้น
ระยะที่ 4 ล้มเหลว
องค์ประกอบของการปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุล
การมีระบบสันสนุนในสถานการณ์อย่างเพียงพอ (Adequate situational support)
การมีกลไกลการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม (Coping mechanism)
การรับรู้เหตุการณ์ได้ถูกต้องตามความเป็นจริง (Realistic perception of the event)
การพยาบาลครอบครัว
ด้านการตอบสนองทางจิตวิญญาณ
ด้านการเอื้ออำนวยความสะดวก
การดูแลด้านจิตใจและอารมณ์ การให้กำลังใจ
ด้านการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
การได้รับข้อมูลจากพยาบาลในเรื่อง ภาวะความเจ็บป่วย
ด้านการสนับสนุนการปรับตัวของครอบครัว
ครอบครัวที่มีปัญหาสมาชิกเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (Families problem with Chronic Illness)
ระยะปฏิสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพ
แสวงหาวิธีการดูแลรักษา
ส่งสมาชิกครอบครัวเข้ารับการบรักษาในสถานบริการสุขภาพ ครอบครัวไม่สามารถดูแลรักษาผู้ป่วยได้ที่บ้าน
ประเมินอาการของการเจ็บป่วย
ระยะตอบสนองการเจ็บป่วยเฉียบพลัน
ส่งเสริมสุขภาพ เป็นระยะที่ครอบครัวมีสุขภาพที่ดี
ระยะปรับตัวต่อการเจ็บป่วยและพักฟื้น
การที่มีบุคคลภายในครอบครัวมีภาวการณ์เจ็บป่วยทางกาย จิตใจ หรืออารมณ์ ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และได้รับการรักษา โดยมีอาการและเป็นโรคนั้นอย่างน้อย ๖ เดือน ขึ้นไป
ผลกระทบ
ด้านสังคม มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนลดลง
ด้านจิตวิญญาณ เกิดการรู้สึกด้อยคุณค่าในตนเอง
ด้านจิตใจเกิดการเครียด กังวล กลัว
ตามบทบาทและหน้าที่ของตนเอง
ด้านร่างกาย ในการดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วยทำให้เกิดการอ่อนล้า ปวดหลัง
สถานะทางเศรษฐกิจ รายได้ที่ลดลงจาการเจ็บป่วย
การดูแลครอบครัวในระยะประคับประคองและระยะสุดท้ายของชีวิต
( Families in Palliative and End- of-Life Care)
หลักการช่วยเหลือครอบครัวในระยะสุดท้าย
ระยะที่ ๓ Bereavement Careชีวิตหลังจากไป
การส่งเสริมความเข้มแข็งทางจิตใจของครอบครัว
ระยะที่ ๒ End of Life ระยะใกล้ความตาย
การแจ้งให้ครอบครัวทราบว่าเวลาที่จะจากกันใกล้เข้ามา
ระยะที่ ๑ การช่วยเหลือประคับประคองและเตรียมตัวสำหรับผู้ป่วย
และครอบครัวก่อนที่ผู้ป่วยจะเสียชีวิต
การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต มุ่งเน้นที่ช่วงเวลาในระยะที่จะเสียชีวิต