Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ
Abdominal injury
คือ
การกระทบกระแทกบริเวณท้อง
สามารถทำให้เกิดการบาดเจ็บได้
แบ่งเป็น
Blunt abdominal injury
เกิดจากแรงกระแทกถูกช่องท้อง
Bicycle handle bar injury
Steering wheel injury
Seatbelt injury
Penetrating injury
เกิดจากการบบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องท้อง
สาเหตุ
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้องรวมทั้งผนัง
ช่องท้องจากสาเหตุถูกกระทบกระแทกอย่างรุนแรง
หรือจากของมีคมมีผลทำให้ผนังหน้าท้องหรืออวยัวะ
ภายในช่องท้อง
อาการและอาการแสดง
การบาดเจ็บชนิดไม่มีบาดแผลฉีกขาด (Blunt injury) เกิดจากแรงกระแทกหรือแรงกระแทกหรือ แรงกดไดแ้ก่จากอุบัติเหตุรถชนวัตถุมีน้ำหนักมาก หล่นทับถูกกระทืบถูกตีตกจากทที่สูง เป็นต้น
การบาดเจ็บชนิดที่มีแผลเปิด
หรือแทงทะลุ (Penetrating injury)
เกิดจากวัตถุทุี่มีความคมทำให้
มีแผลรูเปิดหรือทะลุ
ได้แก่
ถูกแทง
ถูกสะเก็ดระเบิด
ถูกยิง
การตรวจและประเมินเพื่อการวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตำแหน่งผู้ป่วยบนรถ ลักษณะที่รถชน
การใช้เข็มขัดนิรภัย ถุงลมนิรภัย
สภาพการบาดเจ็บ กลไกการบาดเจ็บ
ความปวด
การปฐมพยาบาล
การเคลื่อนย้าย เวลาเกิดเหตุ
การวินิจฉัยโรค
พยาธิสภาพ ของโรค
แผนการรักษา
ผ่าตัด
การพยาบาล
รายงานแพทย์เวร
เตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัดให้ยาตามแผนการรักษา
ติดตามผล Lab, X-ray
ใหข้อมลูแก่ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค
พยาธิสภาพของโรค แผนการรักษา / การผ่าตัด
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย - Observe V/S, N/S,
Abdominal sign, Hct, I/O (ตามประเภทผู้ป่วย)
Spinal Injury
คือ
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลัง
เนื้อเยื่อโดยรอบ หรือเส้นประสาทที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง
มักสัมพันธ์กับภาวะ head injury
สาเหตุ
อาชีพที่รับน้ำหนักมาก
บาดเจ็บจากกีฬา
ตกจากที่สูง
เสื่อมของระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
อาการที่เกิดจากไขสันหลังได้รับบาดเจ็บบางส่วน
อาการช็อกจากไขสันหลัง (Spinal shock)
การตรวจและประเมินเพื่อการวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบ
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
แขน-ขา อ่อนแรง
ความดันโลหิตต่ำ แต่ชีพจรช้า
ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
ซักประวัติ
ตรวจพิเศษ
Myelography
CT-scan
x-ray
MRI
การพยาบาล
ในระยะฉุกเฉินทันทีที่รู้ว่ากระดูกสันหลังหัก
มีประวัติตกจากที่สูง ดูแลให้กระดูกสันหลังอยู่นิ่ง ๆ
โดยวิธีง่าย ๆ คือนอนหงาย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการยึดกระดูกให้อยู่นิ่ง
โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ท่าตรงและ
ให้น้ำหนักถ่วงอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพและ
อาการทางระบบประสาททุกชั่วโมง
สวนปัสสาวะและฝึกขับถ่ายอุจจาระ