Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาในระบบกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาในระบบกระดูก
Spinal cord injury
การบาดเจ็บของไขสันหลงัอาจทา ให้เกดิการบวมของไขสันหลังซึ่ง เป็นผลจากการอุดกั้นของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงไขสันหลงั
ผลจากการบาดเจบ็จะท าให้มีภาวะสูญเสียการท างานของกล้ามเนื้อ การรับความรู้สึก การควบคุมการท างานของล าไส้และ กระเพาะ ปัสสาวะ รวมถงึreflexes ต่างๆ
หมายถึง การบาดเจ็บไขสันหลังรวมถึงรากประสาทที่อยู่ในโพรง ของกระดูกสันหลัง รวมถึง caudaequinaซึ่งเป็นรากประสาทที่ ออกจากส่วนปลายของไขสันหลงัด้วย
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
2.บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete cord injury)
2.2 Central spinal cord syndrome
2.3 Brown-Sequard syndrome
2.1 Anterior spinal cord syndrome
2.4 Posterior cord syndrome
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Complete cord injury)
อาการและอาการแสดง
สูญเสียการรับความรู้สึกและกล้ามเนื้ออ่อนแรงในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ
สูญเสียreflexes ท้ังหมดในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ
ระบบประสาทสั่งการ(motor function) และระบบประสาท รับความรู้สึก(sensory function)ในระดบัตากว่าที่บาดเจ็บ จะมีการเปลยี่นแปลง
สูญเสียการทำงานของทางเดนิอาหารและกระเพาะปัสสาวะ
มีการเปลยี่นแปลงของระบบหายใจ
การรักษาการบาดเจ็บของไขสันหลัง
การผ่าตัด
วิธีที่เหมาะสมที่สุดสา หรับ unstable fracturesในกรณีที่มีเศษกระดูกกด ที่ไขสันหลังหรือรากประสาท การผ่าตัดช่วยลดการกดทับที่ไขสนัหลงั หรือรากประสาท การผ่าตัดมักช่วยลดระยะเวลานอนให้สั้นลง
ข้อเสีย
-เพิ่มความเสี่ยงที่ทา ใหไ้ขสนัหลงัหรือรากประสาทไดร้ับความชอกช ้ามากขึ้น
-ความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวกระดูกสันหลังลดลง
การพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
แก้ไขสาเหตุที่ทำให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
ป้องกันไม่ให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือมีพยาธิสภาพเพิ่มมากขึ้น
แก้ไขปัญหาที่จะทำให้ถึงแก่ชีวิต เช่น ภาวะเลือดออก หายใจลา บาก เป็นต้น
ป้องกันโรคแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์/บุคลากรทางเวชกรรมฟื้นฟู และ ผปู้่วย และญาติ
การพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
เตือนผู้ป่วยมิให้ขยับเขยื้อนหรือเคลื่อนย้ายตัวเองยกเวน้ในกรณีที่ ต้องรีบออกจากที่เกิดเหตุ
หาวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อดามตัวผู้ป่วยตั้งแต่ศีรษะจนถึงหลัง ก่อน ขนยา้ยผปู้่วย
พลิกตวัผปู้่วยเป็นท่อนซุง (Log roll) ให้ศรีษะและลาตัวเคลื่อนไป พร้อม ๆ กัน อย่างนอ้ยใชค้น 3 คน ยกผู้ป่วย ถ้ามีเปลจะยกยา้ยได้ สะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น
จดัผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สบาย เจ็บปวดน้อยที่สุด
การพยาบาลในระยะที่เข้ารับการักษาตัวในโรงพยาบาล
ระบบทางเดินหายใจ
ประเมินทางเดินหายใจ
ติดตามผลการตรวจarterial blood gas
กระตุน้ในผปู้่วยหายใจแบบมีประสิทธิภาพ(deep breathing) และสอนการใช้spirometry
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อระบบทางเดิน หายใจ เช่น ปอดอักเสบ
การใหอ้อกซิเจน
ระบบทางเดินหายใจ (ต่อ)
ใหย้าขยายหลอดลมและยาละลายเสมหะ ถา้ผปู้่วยหายใจ ลา บาก และมีเสมหะมาก
ถ้าหายใจล้มเหลวต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ หรือเจาะคอ
ทำกายภาพบำบัด เช่น การฝึกหายใจด้วยกระบังลมต้าน แรงต้าน การช่วยขับเสมหะออกด้วยการเคาะปอด และ การจัดท่าเพื่อถ่ายเทเสมหะออก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เฝ้าระวังภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ประเมินอาการแสดงของเลือดออกรอบๆบริเวณที่บาดเจ็บไข สันหลัง
ประเมินอาการแสดงของภาวะช็อค
วิธีการแก้ไขสภาวะนี้ได้แก่
ประคบัประคองความดันโลหิตให้พอเพียง ถ้าให้น้ำเกลือต้องระวังภาวะ pulmonary edema
ถ้ามีการเสียเลือด แก้ไขที่สาเหตุ และให้เลือดทดแทน
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ประเมินการรับความรู้สึก
เฝ้าระวังอาการของautonomic dysreflexiaและSpinal shock
ประเมินmotor ability
ประเมินอาการเจ็บปวด
ประเมินอาการทางระบบประสาท
Neurogenic bowel
การพยาบาล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใย
เลือกเวลาที่เหมาะสมในการขับถ่ายอุจจาระ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวเท่าที่เป็นไปได้
ล้วงอุจจาระออกจากลeไส้ใหญ่ภายใน 2-3 วันหลังการบาดเจ็บ
จัดให้ผู้ป่วยมีความเป็นส่วนตัวขณะถ่ายอุจจาระ
จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายเวลาสวนอุจจาระ
การพยาบาลในระยะที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ระบบผิวหนัง
ทำความสะอาดร่างกายทุกครั้งเมื่อมีการถ่ายเลอะ
เปลี่ยนผ้าทันทีทุกครั้งที่เปียกชื้นแฉะ
พลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง
บำรุงร่างกายผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยมีร่างกายซูบผอม และซีด
ประเมินความตึงตวัของผิวหนัง
ด้านจิตใจ
ประเมินสภาพทางจิตใจ กระตุ้นผู้ป่วยให้ระบายความรู้สึก
จัดหาผู้ดูแลตั้งแต่แรกรับ รวมทั้งมีการสอนผู้ดูแลในการ ดูแลผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้มากที่สุด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยใช้แหล่งบริการด้านสาธารณสุขที่อยู่ใน ชุมชนเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การใช้เครื่องพยุงกระดูกสันหลังภายนอก
Collar ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่มีการแตกหัก หรือเคลื่อนของกระดูกสันหลัง ระดับคอ หรือผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด anterior disectomy และ interbody fusion ซึ่งมีทั้ง soft collar และ hard collar