Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ, นางสาวกัญญาภัค จีนเวียงคอย …
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
การจมน้ำ
สาเหตุ
คลอง,สระ,อ่าง,โอ่ง,กะละมัง,ถัง,แม่น้ำ,ทะเล
2แบบ
Drowning
ตายภายใน 24hr.
Near-Drowning
ไม่เสียชีวิต
รอดเกิน 24 hr.
ลักษะณะน้ำที่จม
จมน้ำเค็ม
( Salt-water Drowning)
น้ำเค็ม(Hypertonic solution) เข้มข้นสูง
โปรตีนในเลือดในปอดถูกดูดซึมเข้าถุงลม
ถุงลมแตก มีเลือด/น้ำคั่งในปอด
ปริมาณเลือดลดลง/ความเข้มข้นมากขึ้น/อิเล็กโทรไลต์สูง
เกิดภาวะ
ขาดออกซิเจน
หัวใจวาย
อาจเสียชีวิต
จมน้ำจืด
(Freshwater-Drowning)
ทำให้ปอดแฟบ
น้ำถูกดูดซึมเข้าหลอดเลือดอย่างรวดเร็ว
มีปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น
น้ำจืดทำลายสารเคลือบผนังหลอดลม
เลือดเจือจาง เม็ดเลือดเเดงแตก
วิธีช่วย
รู้สึกตัว
เปลี่ยนเสื้อผ้า/คลุมผ้าให้อบอุ่น
นอนตะเเคงกึ่งคว่ำ
เช็ดตัว
นำส่งโรงพยาบาล
หมดสติ
ดูลมหารใจ,เช็คชีพจร
เรียกหน่วยกู้ชีพ(1669)
CPR
การป้องกัน
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ไม่เล่นใกลแหล่งน้ำ/ว่ายน้ำโดยลำพัง
สอนว่ายน้ำอย่างถูกวิธี
ใส่เสื้อชูชีพเมื่อนั่งเรือ
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ปัญหาที่เกิดหลังสำลัก
อุดทางเดินหายใจส่วนต้น
ช่องทางเดินเล็ก อาจถึงตาย
อุดทางเดินหายใจส่วนปลาย
ปอดแฟบ
ปอดพอง
หอบหืด
อุดกั้น การระบายเสมหะ
เกิดการอักเสบ/ติดเชื้อ
สิ่งแปลกปลอมบางอย่างจะทำปฏิกิริยากับเสมหะ
ไปทำลายเนื้อเยื่อข้างเคียง
ถ้ารุนเเรง เกิดการทะลุของอวัยวะเข้าช่องอก
การช่วยเหลือ
มากกว่า 1ปี
โทร1669
กระตุ้นให้ไอ
ใช้ท่า
Heimlich maneuver
เข้าด้านหลัง
กำมือ1ข้าง ประสานไว้กึ่งกลางท้องเหนือสะดือ
ออกเเรงด้านใน เฉียงขึ้นบน
ต่ำกว่า1 ปี
ใช่ท่า
five back blows
หัวต่ำกว่าตัว
วางแขนไว้บนตัก
คว่ำลงบนแขน
เคาะ5ครั้งกึ่งกลางสะบัก
five chest thrusts
พลิกหน้า
หัวต่ำกว่าตัว
2นิ้วกด(กลาง,ชี้)หน้าอก
อัตตราเร็ว100-120ครั้ง/นาที
กดลึก1/3
โทร1669
เช็คในช่องคอ ถ้าเห็นหยิบออก/ไม่เห็น ห้ามดัน
ทำจนกว่าจะหลุดหรือหน่วยกู้ชีพมา
ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
(Burns)
ตำแหน่งบาดแผล
ตามข้อพับ นิ้วมืออาจมีการดึงรั้ง
ตามข้อควรมีการออกกำลังกายในกลับมาเป็นปกติได้มากที่สุด
ขนาดความกว้างของบาดแผล
พื้นที่ใหญ่ จะสูญเสียน้ำและเกลือแร่ โปรตีน ช็อคและติดเชื้อได้
แผล 1 ฝ่ามือ= 1%
ในเด็ก
หัว 18%
หลัง18%
อก 18%
แขนข้างละ 9%
Perineum 1%
ขาข้างละ 13.5%
ความลึกของบาดแผล
(Degree of wound)
ระดับที่1(First degree burn)
เกิดจาก
ไอร้อน
ตากแดด
วัตถุที่ร้อนโดน
ทำลายผิวนอกของชั้้นหนังกำพร้า ชั้นในหนังกำพร้าเจริญทดแทนได้
ลักษณะ
บวมแดง
ปวดแสบปวดร้อน
ไม่มีตุ่มพอง
ไม่มีชั้นหนังหลุด
หายเร็วไม่มีแผลเป็นถ้าไม่ติดเชื้อ
การพบาบาล
ล้างแผล/ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำปกติ
แช่น้ำธรรมดา 15-20นาที
ห้ามประคบเย็น ทายาสีฟัน อาจติดเชื้อ
ระดับที่2 (Second degree burn)
ชนิดลึก(Deep partial-thickness burns)
ทำลายถึงหนังแท้ส่วนลึก
ลักษณะ
แผลสีเหลืองขาว
ไม่ปวด
เส้นประสาทถูกทำลาย
เกิดแผลเป็น
ถ้าไม่รักษา
เกิดภาวะขาดน้ำ
ติดเชื้อรุนเเรง
การพยาบาล
ทำแบบระดับที่1
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ชนิดตื้น(Superficial partial-thickness burns)
ทำลายหนังกำพร้าทั้งชั้นนอกและชั้นในหนังแท้ยังมีเซลล์ที่เจริญมาทดแทนได้
ลักษณะ
มีตุ่มน้ำพอง
หนังหลุดออกมา
มีน้ำเหลืองซึม
ปวดแสบปวดร้อนมาก
ติดเชื้อได้ง่าย
การพยาบาล
ทำแบบระดับ1
ห้ามใช้เข็มเจาะ อาจติดเชื้อ
ระดับที่3(Third degree burn)
ทำลายหนังกำพร้า หนังแท้ ต่อมเหงื่อ เซลล์ประสาท ลึกถึงกระดูก
ลักษณะ
แผลหดรั้ง
ไม่มีความรู้สึก
การพยาบาล
เอาผ้าคลุมรักษาอุณหภูมิ
กระหายน้ำให้ดื่มน้ำ
เป็นลมให้นอนยกขาสูง
ยกแผล เหนือหัวใจ
มีแหวน กำไลรีบถอด ก่อนบวม
น้ำร้อนลวกรีบถอดเสื้อผ้าแต่ไม่ดึง
รีบนำส่งโรงพยาบาลทันที
ปวดให้ทายยาพาราได้
การรักษา
ทำปลูกถ่ายผิวหนัง(Skin graft)
ขาดน้ำ ช็อคให้Ringer's lactate
ส่วนมาก1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน
นางสาวกัญญาภัค จีนเวียงคอย
รุ่น36/1 เลขที่11 รหัสนักศึกษา612001011