Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กบทที่4, นางสาวกชกร ธนกรกิจสกุล เลขที่3 รหัส 612001003 -…
การพยาบาลเด็กบทที่4
สารพิษ ( Poisons)
สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายโดย การรับประทาน การฉีด การหายใจ หรือการสัมผัสทางผิวหนัง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กระดูกหัก
การมีรอยแยก รอยแตกหรือมีความไม่ต่อเนื่องกันของเนื้อกระดูก เป็นภาวะที่พบได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่
-
แบ่งตามบาดแผล
ชนิดไม่มีแผล หรือ แผลไม่ถึงกระดูกที่หัก (Closed fracture) จะมีอาการกระดูกหักเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีบาดแผลที่ผิวหนัง
-
-
ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อน
ถ้าบาดแผลใหญ่หรือเลือดยังไม่หยุดไหลหรือไหลรุนแรง ให้หาสายรัด มาผูกรัดเหนือบาดแผลให้แน่น ๆ (ให้คลายสายรัดทุกๆ 15 นาที คลายนานครั้งละประมาณ 30-60 วินาที
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก
-
-
- ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อนเสมอไม่ว่ากระดูกจะหักหรือไม่
-
-
การดามกระดูกแบบง่าย ๆ
การใช้แผ่นไม้ ทำเป็นเฝือกวางแนบกับส่วนที่หัก โดยให้ปลายทั้ง 2 ข้างครอบคลุมถึงข้อที่อยู่เหนือและใต้ส่วนที่หัก
-
ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล เพราะการประคบเย็นนี้จะช่วยลดอาการปวด บวมอักเสบ และลดการไหลของเลือดได้ นานประมาณ 20 นาที
ถ้ากระดูกหักโผล่ออกมานอกเนื้อ ห้ามดันกระดูกให้กลับเข้าที่ เพราะจะทำให้เชื้อโรคและสิ่งสกปรกต่าง
ควรใช้ผ้าสะอาดปิดปากแผล เอาไว้ใช้เฝือกดาม
งดให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหรืออาหารจนกว่าจะไปพบแพทย์ เนื่องจากในผู้ป่วยบางรายนั้นอาจจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด
พยาบาลเด็กกระดูกหัก
-
นิ้วมือหรือนิ้วเท้าข้างที่ใส่เฝือกมีสีเขียวคล้ำหรือซีดขาวบวมมากขึ้น หรือมีอาการชาและรู้สึกชา เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน มีอาการบวม แดงที่บริเวณต่ำกว่าเฝือกหรือขอบเผือก
มีเลือด น้ำเหลือง หรือหนอง ไหลซึมออกมาจากเฝือก มีกลิ่นเหม็น ไม่สามารถขยับเขยื้อนนิ้วมือหรือนิ้วเท้า มีวัตถุแปลกปลอมเข้าไปในเฝือก ควรรีบไป พบแพทย์ทันที
-