Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 สุนทรียภาพของดนตรีและนาฏศิลป์ - Coggle Diagram
บทที่2
สุนทรียภาพของดนตรีและนาฏศิลป์
ความหมายของสุนทรียภาพ
เป็นความรู้สึกและรับรู้ได้ถึงความงดงาม ทั้งที่อยู่ในธรรมชาติและเกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ จึงเป็นสภาพการณ์และความสัมพันธ์ของอารมณ์ และจิตใจ ที่มีต่อการรับรู้และชื่นชมความงดงามของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจพัฒนาต่อไปถึงขั้นซาบซึ้ง ชื่นชม หลงใหล และส่งผลต่อบุคลิกภาพ รสนิยม ความรู้สึกนึกคิด การตัดสินคุณค่า รวมทั้งการตัดสินใจและพฤติกรรมของผู้คนต่อไป
ความหมายและองค์ประกอบของดนตรีและนาฏศิลป์
ดนตรีและนาฏศิลป์เกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์เช่น เมื่อเกิดความพอใจ สนุกสนานก็เปล่งเสียงหัวเราะ โห่ร้อง ปรบมือ หาวิธีการที่ทำให้เกิดเสียงและท่าทางแปลก ๆ โดยใชเ้ครื่องมือต่างๆ เข้าช่วยจนกลายเป็นเสียงดนตรีและแสดงท่าทางประกอบและพัฒนาปรุงแต่งการแสดงท่าต่าง ๆ จนกลายเป็นนาฏศิลป์
คุณค่าของดนตรีและนาฏศิลป์ที่มีต่อเด็ก
ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3
ด้านเสียงดนตรีเด็กในวัยนี้สามารถจำเสียงดนตรีที่ได้ยินบ่อย ๆ ได้
ด้านร่างกาย เด็กชอบเคลื่อนไหวร่างกายบ่อยเด็กจะเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงหรือกิจกรรมเข้าจังหวะด้วยความสนุกสนาน
ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
ด้านจังหวะ เด็กจะรับรู้และมีความจำเกี่ยวกับรูปแบบของจังหวะดีขึ้น
ลักษณะของเพลง เด็กในวัยนี้จะชอบร้องเพลงหลายแบบทั้งสนุกสนานและหวาน ๆ ในบางคร้ัง และเด็กจะเริ่มแสดงให้เห็นชัดว่าตนชอบเพลงประเภทใด
การสอนดนตรีและนาฏศิลป์
สำหรับเด็กประถม
ด้านบุคลกิภาพ
ด้านสังคม
ด้านอารมณ์
ด้านเจตคติ
การพฒันาบุคลิกภาพ หลักการแนวคิด ทฤษฎีในการสอนดนตรีและนาฏศิลป์
ความหมายของการเรียนรู้
การที่บุคคลสามารถ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลงัจากได้ที่ได้รับสิ่งเร้า และประสบการณ์ต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงนั้น สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งพฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน
ลักษณะของการเรียนรู้
ลักษณะของการเรียนรู้จะเรียกว่าเป็นการเรียนรู้ได้ต้องมีลกัษณะดังต่อไปนี้
เป็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปน้นั เป็นพฤติกรรมที่ถาวร
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมน้นั จะตอ้งต่อเนื่องมาจากประสบการณ์หรือการ
องค์ประกอบทางจิตวทิยาทชี่ ่วยส่งเสริมการเรียนรู้
วุฒิภาวะ
ความพร้อม
การฝึกฝน
การเสริมแรง
การถ่ายโยงการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์น
การเรียนรู้เป็นการเกิดความสัมพันธ์
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับปฏิกิริยาตอบสนอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกัทรี
จากกฎอันนี้เงื่อนไขเพียงอันเดียวที่จำเป็นต่อ
การเรียนรู้คือสิ่งเร้า และการตอบสนองจะต้องเกิดไปด้วยกันอย่างแนบชิด ดังนั้น จึงไม่จำเป็นจะต้องมีรางวัลหรือการลงโทษ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ความสัมพนัธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งแวดลอ้ มเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทา ของพฤติกรรมนั้นมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนั้น ทฤษฎีนี้เน้นการกระทำมากกว่า สิ่งเร้าที่ผู้สอนกำหนดขึ้น
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีของกลุ่มเกสตอลท์
การเรียนรู้คือ การหยั่งเห็น เป็นความรู้สึกในความสัมพันธ์เป็นวิธีการที่มีเหตุผลที่จะได้แก้สถานการณ์ที่เป็นปัญหา การหยั่ง เห็นเป็นของผู้เรียนเอง ครูไม่สามารถจะถ่ายทอดการหยั้ง เห็นให้แก่ผเู้รียนได้
การเรียนรู้ตามแนวคิดของเพียเจต์
พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับของระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่
การเรียนรู้ตามแนวคิดของบรูเนอร์
เน้นผลงานที่เด็กทำได้สำเร็จ
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของกาเย่
จากทัศนะของกาเย่เด็กพัฒนาเนื่องจากว่าเขาได้เรียนรู้กฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ พฤติกรรมที่อาศัยกฎที่ซับซ้อนเกิดขึ้นเพราะเด็กได้มีกฎง่าย ๆ ที่จำเป็นมาก่อน
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มแรงจูงใจ
คาร์ล โรเจอร์
การเรียนรู้จะเกิดขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้เรียนมีแรงจูงใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ในสิ่งนั้ัน บรรยากาศของการเรียนรู้จึงเป็นสิ่งสำคัญ
ความต้องการของเด็กประถมศึกษากับการสร้างเสริมลักษณะนิสัย
ความต้องการทางด้านร่างกาย
ความต้องการความรัก
ความต้องการการประสบความสำเร็จ
ความต้องการการยอมรับจากผู้มีอำนาจ
ความต้องการความยอมรับจากเพื่อน
ความต้องการอิสระ
ความสนใจของเด็กประถมศึกษากับการสร้างเสริมลักษณะนิสัย
นอกจากนี้เด็กในวัยประถมศึกษาตอนปลายจะเริ่มมีความสนใจต่อเพศตรงข้าม และมักจะชอบทำให้เพศตรงข้ามสนใจตน ดังนั้นครูก็ควรที่จะพิจารณาจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมให้กับเด็กโดยให้เด็กได้เข้าใจถึงการแสดงบทบาททางเพศที่เหมาะสมด้วย