Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia, ผู้ป่วยมีอาการ
2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน…
Pneumonia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
ภาพรังสีทรวงอก
ไม่สามารถแยกสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือ
ไวรัสได้อย่างชัดเจน แต่อาจเป็นแนวทางในการบอกเชื้อที่น่าจะเป็นสาเหตุ เช่น ลักษณะ perihilar peribronchial interstitial infiltration มักพบในปอดบวมที่เกิดจากไวรัส
-
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย
-
-
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
ควรทำในเด็กโตที่สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้ ร่วมกับมีอาการรุนแรงต้องนอนในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน หรือไม่ตอบสนองต่อการรักษา หรือกรณีผู้ป่วยมีอาการรุนแรงต้องใส่ท่อช่วยหายใจ การเก็บสารคัดหลั่งจาก tracheal suction เพื่อส่งย้อมสีแกรมและเพาะเชื้ออาจช่วยบอกเชื้อก่อโรคได้
-
-
-
-
-
สิ่งตรวจพบ
-
ในรายที่เป็นมาก จะมีอาการหายใจเร็วมากกว่า 30-40 ครั้ง/นาที (เด็กอายุ 0-2 เดือน หายใจมากกว่า 60 ครั้ง/นาที อายุ 2 เดือนถึง 1 ปี มากกว่า 50 ครั้ง/นาที อายุ 1-5 ปี มากกว่า 40 ครั้ง/นาที) ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียว (ริมฝีปาก ลิ้น และเล็บเขียว) และภาวะขาดน้ำ
การใช้เครื่องฟังตรวจปอดมักมีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ซึ่งมักจะได้ยินตรงบริเวณใต้สะบัก (ปอดส่วนล่าง) ข้างหนึ่งหรือ 2 ข้าง บางรายอาจได้ยินเสียงอี๊ด (rhonchi) หรือเสียงวี๊ด (wheezing) เฉพาะบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
บางรายอาจพบอาการเคาะทึบ (dullness) และใช้เครื่องฟังตรวจได้ยินเสียงหายใจค่อย (diminished breath sound) ที่ปอดข้างใดข้างหนึ่ง
บางรายอาจพบอาการของโรคติดเชื้ออื่นๆร่วมด้วย เช่นเริมที่ริมฝีปาก ผื่นของหัด อีสุกอีใส หรือโรคมือ-เท้า-ปาก เป็นต้น
ในรายที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมาหรือคลาสมีเดีย อาจมีผื่นตามผิวหนังร่วมด้วย ส่วนการตรวจฟังปอดในระยะแรกอาจไม่พบเสียงผิดปกติก็ได้
การติดต่อ
ทางเดินหายใจ
โดยการสูดเอาเชื้อโรคที่แพร่กระจายมาทางอากาศ (ถูกไอ จามใส่) หรือเชื้อที่อยู่เป็นปกติวิสัย (normal flora) ในช่องปากและคอหอย (เช่นสเตรปโตค็อกคัสนิวโมเนีย ฮีโมฟิลุสอินฟลูเอนเซ กลุ่มแบคทีเรียที่ไม่พึ่งออกซิเจน) ลงไปในปอด
การสำลัก
เอาสารเคมี (น้ำมัน) น้ำย่อย น้ำ(จมน้ำ) หรือเศษอาหารเข้าไปในปอดจากเกิดจากสารระคายเคืองแล้วยังอาจเกิดจากเชื้อโรคที่อยู่ในช่องปากและคอหอยที่ถูกสำลักลงไปในปอด
-
สาเหตุ
-
การติดเชื้อ
การติดเชื้อแบคทีเรีย
เชื้อนิวโมค็อกคัส (pneumococcus) หรือสเตรปโตค็อกคัสนิวโมเนีย (Streptococcus pneumoniae) มักทำให้เกิดอาการปอดอักเสบเฉียบพลันและรุนแรง
การติดเชื้อไมโคพลาสมา
เป็นเชื้อคล้ายแบคทีเรียแต่ไม่มีผนังเซลล์จัดว่าอยู่กำกึ่งระหว่างไวรัสกับแบคทีเรียมักทำให้เกิดปอดอักเสบที่มีอาการไม่ชัดเจน (มีอาการไข้ไอปวดเมื่อยคล้ายไข้หวัดใหญ่หรือหลอดลมอักเสบเฉียบพลันโดยไม่มีอาการหอบรุนแรง มักพบในวัยรุ่นและวัยหนุ่มสาว
การติดเชื้อไวรัส
ที่พบบ่อย ได้แก่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ (influenza virus) อีสุกอีใส-งูสวัด (varicella-zotes virus) ไวรัสอาร์เอสวี (respiratory syncytial virus) RSV) ไวรัสค็อกแซกกี (coxsackie virus) ไวรัสเริม (herpes simplex virus / HSV) เป็นต้น
-
ความหมาย
การอักเสบของเนื้อปอด (ซึ่งประกอบด้วยถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ) ทำให้ปอดทำหน้าที่ได้น้อยลงเกิดอาการหายใจหอบเหนื่อยและอาจรุนแรงถึงเสียชีวิตได้
-
ผู้ป่วยมีอาการ
- 2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ
- 2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำๆไอแห้งๆไอมากเวลากลางคืนรู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ
- 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก (นั่งรถเข็นมาเนื่องจากเดินไม่ไหว)
ผลตรวจร่างกาย
Chest : RR 28-30 / min, Suprasternal retractions, Crepitation both lung, normal breathing movement
-