Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ, นางสาวธิดารัตน์…
บทที่ 4 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก(Burn)
ระดับบาดแผล
ระดับที่2(Second degree burn)
ชนิดตื้น(Superficial partial-thickness burns)
มี cell เจริญขึ้นมาทดแทนส่วนที่ตายได้
หายภายใน 2-3 สัปดาห์
มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งชั้นผิวนอกและชั้นผิวในสุด และหนังแท้ส่วนที่อยู่ตื้นใต้หนังกำพร้า
ไม่เกิดแผลเป็น(ยกเว้นติดเชื้อ)
ลักษณะแผล
มีน้ำเหลืองซึม
รู้สึกปวดแสบปวดร้อนมาก เพราะเส้นประสาทไม่ได้ถูกทำลายมาก
ผิวหนังอาจหลุดลอก เห็นเป็นเนื้อชมพูแดง
พุพองเป็นตุ่มน้ำใสขนาดเล็กและใหญ่
ชนิดลึก(Deep partial-thickness burns)
มีการทำลายของหนังแท้ส่วนลึก
ทำให้เกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก ถ้าไม่ติดเชื้อช้า
แผลมักหายภายใน 3-6 สัปดาห์
ใช้ยาปฎิชีวนะเฉพาะที่จะทำให้ไม่เกิดการติดเชื้อ
ลักษณะแผล
มีสีเหลืองขาว แห้ง
ไม่ค่อยปวด
ไม่ค่อยมีตุ่มพอง
ระดับที่3(Third degree burn)
มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ และเซลล์ประสาท อาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
มักไม่มีอาการเจ็บปวด เนื่องจากเส้นประสาทถูกทำลาย(Hypertrophic scar or krloid)
มีโอกาสเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติดตามมาสูงมากถ้ารักษาไม่ถูกต้อง
ระดับที่1(First degreeburn)
สามารถเจริญขึ้นมาแทนที่ส่วนผิวนอกได้
มีโอกาสหายสนิท ยกเว้นติดเชื้อ
หมายถึง บาดแผลที่มีการทำลายของ cell หนังกำพร้าชั้นผิวนอกเท่านั้น
บาดแผลระดับที่ 2 ที่มีขนาดมากกว่า 30% และบาดแผลระดับที่ 3 ที่มีขนาดมากกว่า 10 % ถือเป็นบาดแผลรุนแรง
การพยาบาล
แผลที่หายโดยใช้เวลามากกว่า 3 อาทิตย์ หรือแผลที่หายหลังทำ Skin graft แนะนำให้ใส่ผ้ายืด (Pressure garment) เพื่อป้องกันการเกิด Hypertrophic scar
การรักษา
ยาปฎิชีวนะทาเฉพาะที่(Topical antibiotic) คือ 1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน
ถ้ามีบาดแผลกว้าง แพทย์จะให้สารน้ำได้แก่ ริงเกอร์แลกเตท (Ringer's lactate)
แผลกว้างมีดอกาสติดเชื้อรุนแรง
การปฐมพยาบาล
1.ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดและใช้ผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
2.เป็นตุ่มน้ำใสไม่ควรเอาเข็มเจาะ เพราะอาจติดเชื้อบาดทะยักหรือแผลอักเสบ
3.ถ้าบาดแผลมีขนาดกว้างอาจทำให้ป่วยเกิดภาวะช็อคได้อย่างรวดเร็ว
สาเหตุ
การเสียดสีรุนแรง
สารเคมี
กรด
ด่าง
ไฟ
พลุ
ประทัด
ตะเกียง
บุหรี่
เตาไฟ
น้ำร้อน
ไอน้ำ
กระติกน้ำ
กาน้ำ
กระแสไฟฟ้า
วัตถุร้อน
จานชามใส่ของร้อน
เตารีด
รังสี
แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต)
รังสีโคบอลล์
รังสีเรเดียม
ระเบิดปรมาณู
รังสีนิวเคลียร์
กระดูกหัก(Bone fracture, fracture หรือ Broken bone)
แบ่งตามบาดแผล
กระดูกหักแบบแผลเปิด หรือ แผลลึกถึงกระดูกที่หัก (Compound fracture หรือ Open fracture)
เป็นชนิดร้ายแรง เพราะอาจตกเลือดรุนแรงเส้นประสาทถูกทำลาย หรือติดเชื้อได้ง่ายเป็นเหตุให้เสียแขน-ขาได้
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล หรือ แผลไม่ถึงกระดูกที่หัก(Closed fracture)
แบ่งตามรอยที่มีการหักของกระดูก
กระดูกหักยุบเข้าหากัน(Impacted fracture)
กระดูกเดาะ(Greenstick fracture)
กระดูกหักทั่วไป (Simple fracture)
คือ การมีรอยแยก รอยแตก หรือมีความไม่ต่อเนื่องกันของเนื้อกระดูก
ปฐมพยาบาล
1.ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
2.ทำการปฐมพยาบาลด้วยการ CPR
4.ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อนเสมอไม่ว่ากระดูกจะหักหรือไม้
เลือดไม่หยุดไหล ให้หาสายรัดเหนือบาดแผลแน่นๆ และคลายทุก 15 นาที ครั้งละ 30-60 นาที เลือดไม่หยุดให้กระชับเข้าไปใหม่
3.ดามกระดูกที่หักชั่วคราว
3.ใช้สิ่งนุ่มๆรองรับผิวหนังของอวัยวะ
4.รัดทั้งหมดเข้าด้วยกัน โดยใช้เทป เชือก ด้าย สายไฟ ผ้าพันคอ เน็คไท
2.ให้ปลายเฝือกทั้ง 2 ข้างครอบคลุมถึงข้อที่อยู่เหนือและใต้ส่วนที่หัก
1.ใช้แผ่นไม้ แผ่นพลาสติกแข็ง ทำเป็นเฝือกวางแนบกับส่วที่หัก
บริเวณที่ดามเฝือกจะต้องจัดให้อยู่ในท่าที่สุขสบายที่สุด
ถ้าส่วนที่หักเป็นปลายแขนหรือมือให้ใช้ผ้าคล้องคอ
5.ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
ประคบไว้นานประมาณ 20 นาทีจนชาแล้วเอาออก
ขณะประคบให้กระดูกที่หักให้สูงขึ้น เพื่อลดอาการบวม ชะลอการไหลของเลือด
หลังดามแล้วให้ใช้ผ้าบางๆห่อแลัวประคบทันที
ช่วยลดอาการปวด ลดการบวม ลดการไหลของเลือด
คำแนะนำ
ถ้ากระดูกโผล่ออกมาห้ามดึงกระดูกเข้าที่เพราะอาจติดเชื้อ
ถ้าหักตรงขาส่วนบนไม่ควรเคลื่อนไหวร่างกาย NPO
อย่าดึงข้อหรือจัดกระดูกเอง
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1 เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 612001051