Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อของระบบประสาท, นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อของระบบประสาท
ผู้ป่วยที่มีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหต
จากการสัมผัสโดยตรงระหว่างเยื่อหุ้มสมองกับโพรงจมูก ผิวหนัง
จากการติดเช้ือที่มาจากผลแทรกซ้อนจากการผ่าตัดศีรษะหรือสมอง
เชื้อแบคทีเรียซึ่งจะผ่านเข้าไปทางเส้นเลือดไปที่เยื่อหุ้มสมองเนื่องจากมีการติดเช้ือในทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
หูหนวกหรืออาจมีอัมพาตครึ่งซีก และ papillo edemaได้
มีไข้สูงขึ้นทันทีทันใด ร่วมกับหนาวสั่น ปวดศีรษะมากคลื่นไส้อาเจียน ปวดหลัง คอแข็ง (Rigidity of neck) และชักทั้งตัว สับสน ซึมลงจนหมดสติได้
ความหมาย
เป็นการอักเสบของ Pia mater และ Arachnoid subarachnoid space หรือ Venticle และน้ำไขสันหลังที่ส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย3 ตัว คือ Meningococus, Pneumococus และ Hemophillius influenza (พบได้ 75 %)
พยาธิสรีรวิทยา
ระยะแรกของการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมอง เส้นเลือดที่ติดอยู่กับเยื่อหุ้มสมองจะบวมและขยายออก ต่อมาจะเกิด Exdates โดยเม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil จะเข้ามาบริเวณฐานสมองทางน้ำไขสันหลังในปริมาณมาก
ในระยะต่อมาจะมี Lymphocyte, plasma cell และ Fibrinogen เพิ่มขึ้นมาก เยื่อหุ้มชั้น arachnoid และ ia mater หนาตัวขึ้น มีเลือดคั่งในหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยง Subarachnoid space ซึ่งมีผลให้ทางเดินน้ำไขสันหลังอุดตันและไหลไม่สะดวก ทำให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากน้ำในโพรงสมองเพิ่มขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
2.เช็ดตัวลดไข้ทุกวิธี เพื่อควบคุมและป้องกันการเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
3.ให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
1.จัดให้นอนพักท่าศีรษะสูง 30 – 40 องศา
4.ให้ได้ออกซิเจนให้เพียงตามแนวทางการรักษาของแพทย์ ฟังเสียงปอด และประเมินอาการทางระบบประสาท และสัญญาณชีพทุก 1 – 2 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสม
5.ให้ยาแก้ปวดร่วมกับการนวด การประคบด้วยน้ำอุ่นบริเวณท่ีมีอาการปวด
6.ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีโปรตีนและแคลอรีสูงอย่างเพียงพอ และประเมิน
ภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง
7.ติดตามและประเมินระดับความรู้สึกตัวและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา ใส่ไม้กั้นเตียง และ restain เมื่อจำเป็น
ผู้ป่วยที่มีการอักเสบของเนื้อสมอง (Encephalitis)
สาเหตุ
จากสาเหตุอื่นที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น จากการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง
สมองใหญ่อักเสบ (Cerebritis) คือ ภาวะที่เนื้อสมองมีการอักเสบรุนแรงและในที่ สุดจะกลายเป็นฝีในสมอง
การติดเชื้อไวรัส (พบบ่อยที่สุด คือ Japanese encephalitis virus)
การรักษา
ยากันชัก Steroids
ยานอนหลับ
ยาลดไข้
การควบคุมความดันในสมอง
การดูแลระบบหายใจและสารน ้าและ Electrolyte
ในรายที่เกิดจากเชื้อไวรัสเริม นิยมให้ยา Vira-A
รักษาตามอาการที่ต้องรีบรักษาก่อนที่ผู้ป่วยจะหมดสติ
อาการและอาการแสดง
มี Asymmetrical reflexs, Involuntary movement เช่น กลอกตา
ไม่ได้ กลืนลำบาก, Visual disturbances (photophobia, diplopia)
อาจมีหายใจล าบาก ชัก (ทั้งแบบ Seizure & Convulsion) สับสนและซึมลงจนหมดสติได้
มี Meningeal irritation (ปวดหลัง คอแข็ง) พูดไม่ได้ แขนขาอ่อนแรง (Hemiparesis)
ไข้สูงขึ้นมาทันทีทันใด ปวดศีรษะรุนแรง คลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคฝีในสมอง (Brain abscess)
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะตลอดเวลาและหลับปลุกตื่น (lethargy) พบมากที่สุด
มีการชักเฉพาะที่ หรืออาการของกล้ามเนื้ออ่อนแรงครึ่งซีก พูดไม่ได้
ในระยะแรกอาจพบอาการซึม สับสน ความคิดอ่านเชื่องช้า
มีไข้หนาวสั่นร่วมกับชีพจรช้า
มีอาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง คอแข็ง (nuchal rigidity)
สาเหตุ
โพรงอากาศในจมูกหรือมาสตอยด์อักเสบ
ฟันผุ
หูชั้นกลางอักเสบ พบบ่อยที่สุด
การติดเชื้อที่ปอดและหัวใจ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
ความหมาย
เป็นการสะสมของฝีหนองในสมอง
ทั้งท่ีมีแคปซูลหุ้มและไม่มีแคปซูลหุ้ม
หรือเชื้อโรคเข้าไปทางกะโหลกท่ีแตกและทางเยื่อดูรามาเตอร์ที่ฉีกขาด
ซึ่งเกิดขึ้นตามหลังโรคอื่น ๆหรือการติดเชื้ออื่น ๆ ในร่างกาย เช่น หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ มาสตอยด์อักเสบ
กิจกรรมการพยาบาล
3.ให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาเพื่อรักษาการติดเชื้อและดูแลให้ได้รับการผ่าตัดเพื่อแก้ไขสาเหตุ
4.ให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ และติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็วที่สุด
5.ตรวจสอบสัญญาณชีพ และอาการทางระบบประสาทอย่างต่อเนื่อง
1.ให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนเพียงพอ
นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง
เลขที่ 27 รหัส 611001402385